Page 78 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 78
ที่ 96 ตอนที่ 105 วันที่ 1 กรกฎาคม 2522 ซึ่งมีผลการใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2522 จึงถือว่าได้
ด าเนินการจัดตั้งส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2522 เป็นต้นมา
โดยภารกิจและอ านาจหน้าที่ของ สคบ. คือ
รับเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภค
ผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อน หรือความเสียหายอนเนื่องมาจากการกระท าของผู้ประกอบธุรกิจ
ั
ื่
เพอเสนอต่อคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคพจารณาด าเนินการต่อไป ผู้บริโภคทุกท่านที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ
ิ
หรือได้รับอนตรายจากสินค้าหรือบริการใด สามารถร้องเรียนมาที่ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
ั
ท าเนียบรัฐบาล กรุงเทพฯ 10300 โดยการเขียนจดหมาย ส่งตู้ ป.ณ. 99 กรุงเทพฯ 10300 หรือมาด้วยตนเอง
หรือโทรศัพท์สายด่วนร้องทุกข์ โทร.1166 การร้องเรียน หรือการช่วยกันสอดส่อง และแจ้งมายังส านักงานฯ
ึ
นั้นเป็นสิทธิที่ผู้บริโภคพงกระท าได้ นอกจากนั้นยังเป็นการกระตุ้นเตือนให้ผู้ประกอบธุรกิจได้ส านึก
และบรรเทาการเอารัดเอาเปรียบต่อผู้บริโภคได้บ้าง และประการส าคัญคือเป็นการช่วยให้ส านักงานฯ ทราบ
ปัญหาของผู้บริโภคและด าเนินการช่วยเหลือได้เต็มที่ ซึ่งในการช่วยเหลือผู้บริโภคในด้านนี้ ส านักงานฯ มีสาย
งานที่รับผิดชอบอยู่โดยตรง คือ กองคุ้มครองผู้บริโภคด้านโฆษณา กองคุ้มครองผู้บริโภคด้านฉลาก และกอง
คุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญา โปรดระลึกอยู่เสมอว่าท่านไม่จ าเป็นต้องอดทนต่อความไม่ปลอดภัย หรือการเอา
รัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจอีกต่อไป ผู้บริโภคทุกท่านมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครอง
ติดตามและสอดส่องพฤติกรรมของผู้ประกอบการ
ิ่
ในปัจจุบันมีการเสนอสินค้าหรือบริการต่าง ๆ ต่อผู้บริโภคเป็นจ านวนมากและเพมขึ้นเรื่อย ๆ โดยใช้
ื่
วิธีการ และเทคนิคใหม่ ๆ ในทางการตลาด และทางการโฆษณาเพอส่งเสริมการขาย โดยทั่วไปผู้บริโภคไม่อาจ
ทราบภาวะตลาด และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคุณภาพ และราคาของสินค้า หรือบริการนั้น ๆ ได้อย่างถูกต้อง สคบ.
จึงต้องมีบทบาทในการติดตามและสอดส่อง พฤติการณ์ของผู้ประกอบธุรกิจ และด าเนินการทดสอบ หรือพิสูจน์
ในบางครั้ง เพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรมตามสมควร
สนับสนุนหรือท าการศึกษาและวิจัยปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้บริโภค
การศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับสถาบันการศึกษา และหน่วยงานอน ๆ
ื่
เพอที่จะได้ด าเนินการช่วยเหลือ ผู้บริโภคได้ตรงกับปัญหาและความต้องการ ตัวอย่างในการด าเนินการ ได้แก่
ื่
การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยาปราบศัตรูพืช และการส ารวจทัศนคติเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น
ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้บริโภคเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
สนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้บริโภคในทุกระดับการศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยและอนตรายที่อาจ
ั
ได้รับจากสินค้าหรือบริการ ผู้บริโภคควรจะได้เรียนรู้และเข้าใจปัญหาตลอดจนวิธีการป้องกันหรือหลีกเลี่ยง
เพื่อที่จะได้สามารถคุ้มครองตนเองในเบื้องต้นก่อน นอกเหนือจากความช่วยเหลือจากรัฐบาล การส่งเสริม และ
การสนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้บริโภคในทุกระดับจึงเป็นหน้าที่ที่ส าคัญอันหนึ่งของ สคบ.
65