Page 76 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 76

3.2 หน่วยงานที่รับผิดชอบในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

                         หน่วยงานที่รับผิดชอบในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ


                         ส่วนกลาง ได้แก่ ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และส านัก
                  สถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข


                         ส่วนภูมิภาค ได้แก่ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนย์
                  วิทยาศาสตร์การแพทย์เขต ส านักงานสนับสนุนบริการสุขภาพเขต กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง

                  สาธารณสุข และกลุ่มงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลชุมชน




                  3.3 ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.)

                         ประวัติความเป็นมาของ สคบ.


                         เมื่อปี พ.ศ. 2512 ได้มีเจ้าหน้าที่ของสหพนธ์องค์การผู้บริโภคระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นองค์การอสระที่
                                                                                                        ิ
                                                           ั
                  ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง จัดตั้งโดยสมาคมผู้บริโภคของประเทศต่าง ๆ รวมตัวกันมีส านักงานใหญ่ อยู่ที่กรุงเฮก
                  ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้เข้ามาชักชวนองค์การเอกชนในประเทศไทยให้มีการจัดตั้งสมาคมผู้บริโภคขึ้น

                                     ื่
                  เช่นเดียวกับประเทศอน ๆ แต่ไม่ประสบผลส าเร็จเนื่องจากองค์การเอกชนของประเทศไทยในขณะนั้นยังไม่
                                                                                   ิ
                  พร้อมที่จะด าเนินงาน อย่างไรก็ตามสหพันธ์องค์การผู้บริโภคระหว่างประเทศก็มได้ย่อท้อ ได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้ามา
                          ี
                  ชักชวนอกหลายครั้ง จนกระทั่งในครั้งที่ 3 องค์การเอกชนของประเทศไทยได้รับการชักชวน ได้จัดตั้ง
                  คณะกรรมการเพอการศึกษาปัญหาของผู้บริโภคมีชื่อว่า กรรมการศึกษาและส่งเสริมผู้บริโภค ในปี พ.ศ. 2514
                                ื่
                  และได้มีวิวัฒนาการเรื่อยมาในภาคเอกชน รวมทั้งได้ประสานงานกับภาครัฐบาล จนกระทั่งใน ปี พ.ศ. 2519

                  รัฐบาลสมัย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี ได้จัดตั้งคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคขึ้นคณะหนึ่ง
                  โดยมีรองนายกรัฐมนตรี พลตรีประมาณ อดิเรกสาร เป็นประธานกรรมการชุดดังกล่าว ได้สลายตัวไปพร้อมกับ

                  รัฐบาลในยุคนั้นตามวิถีทางการเมือง (ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค, no date)

                         การยกร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522


                         รัฐบาลสมัยต่อมาซึ่งมี พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ เป็นนายกรัฐมนตรีได้เล็งเห็นความส าคัญ และ
                                                                                               ี
                  ความจ าเป็นของการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคขึ้นอกครั้งโดยมี รอง
                  นายกรัฐมนตรี นายสมภพ โหตะกิตย์ เป็นประธานกรรมการการปฏิบัติงานโดยอาศัยอ านาจของนายกรัฐมนตรี

                  และศึกษาหามาตราการถาวรในการคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งในหลักทางสารบัญญัติ และการจัดองค์กรของรัฐเพอ
                                                                                                           ื่
                  คุ้มครองผู้บริโภค จึงได้พจารณายกร่างกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค และรัฐบาลได้น าเสนอต่อรัฐสภา
                                       ิ
                  มีมติเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ให้เป็นกฎหมายได้ รัฐบาลจึงได้น าร่างขึ้นบังคมทูลซึ่งได้มีพระบรมราชโองการโปรด
                  เกล้าโปรดกระหม่อมให้ตราเป็นพระราชบัญญัติได้ตั้งแต่วันที่ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 30 เมษายน





                                                                                                             63
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81