Page 185 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 185
9.3 หน้าที่ รูปแบบ และลักษณะของข้อมูลข่าวสารข้อมูลผู้บริโภคที่ดี
9.3.1 หน้าที่ของข้อมูลข่าวสาร
การแจ้งข้อมูลข่าวสารส าหรับผู้บริโภคเพื่อ
o แจ้งข่าวสาร (informing)
o จูงใจ (persuading)
o เตือนความทรงจ า (reminding)
o เปลี่ยนการรับรู้
9.3.2 รูปแบบของสื่อข้อมูลข่าวสารผู้บริโภค
“สื่อ” (medium of communications) คือ ตัวกลาง ที่อยู่ระหว่างกลางของการสื่อสาร
ระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสารดังนั้นนอกจากสื่อในรูปแบบที่เราคุ้นเคยกันมานานอย่าง ภาพยนตร์
ิ
์
ิ
โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งตีพมพวารสารหนังสือพมพนิตยสาร สื่อโฆษณากลางแจ้ง สื่อเคลื่อนที่ หรือสายด่วน
์
ิ
(hotline) แล้วสื่อในปัจจุบันยังรวมถึง มัลติมีเดีย (multimedia) ที่ใช้คอมพวเตอร์ในการสื่อสารและ
ปฏิสัมพนธ์กับผู้รับสารโดยผสมผสานสื่อต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ทั้งนี้สื่อมัลติมีเดียยังรวมถึงมัลติมีเดีย
ั
ปฏิสัมพนธ์ (interactive multimedia) ที่ผู้ใช้งานสามารถควบคุมให้สื่อแสดงออกตามความต้องการ
ั
ได้ในสังคมออนไลน์ เช่น facebook และ twitter วิดีโอเกมส์ คอมพวเตอร์ โทรศัพท์มือถือและ
ิ
อินเทอร์เน็ตอีกด้วย
9.4 ลักษณะของข้อมูลข่าวสารผู้บริโภคที่ดี
แม้ว่าจะมีรูปแบบของสื่อต่าง ๆ มากมายข้างต้น แต่สื่อส าหรับข้อมูลข่าวสารที่ดี ควรมี
ลักษณะดังนี้
1. แหล่งข้อมล: เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้สะดวกมีให้ค้นหาตลอดเวลา และเป็นแหล่งข้อมูลของ
ู
หน่วยงานที่น่าเชื่อถือ เช่น หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานวิชาชีพ สถาบันการศึกษา เป็นต้น
ื่
2. เนื้อหา: เนื้อหาน่าเชื่อถือ มีเนื้อหาของข่าวสารครบถ้วน เพอให้เข้าใจง่าย ไม่คลุมเครือ
เนื้อหามีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และเป็นประโยชน์ต่อผู้รับข้อมูล
3. รูปแบบของสื่อ: สื่อต้องเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการได้
ไตรภาคีเครือข่ายในการพัฒนาข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพผ่านสื่อ
เพอให้การสื่อสารข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพไปถึงผู้บริโภคเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ื่
จ าเป็นต้องอาศัยพลังจากภาคี 3 ส่วน คือ
172