Page 126 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 126

6.3 ฉลากโภชนาการ

                         ในปี พ.ศ. 2532 กรมอนามัยได้จัดท าข้อก าหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจ าวันส าหรับคนไทย

                  (Recommended Daily Dietary Allowances for Healthy Thais) ชื่อย่อว่า RDA โดยบัญชี RDA นี้ก าหนด

                  สารอาหารที่ควรได้รับประจ าวันส าหรับคนไทยไว้ จ านวน 17 ชนิด โดยแบ่งกลุ่มคนไทยเป็น 8 กลุ่มตามเพศ
                                                                         ั
                  และอายุ และเนื่องจากความต้องการสารอาหารบางชนิดแตกต่างกนตามอายุ แต่ละกลุ่มจึงมีการแบ่งย่อยตาม
                                                                                              ื่
                            ี
                  ระดับอายุอก แต่อย่างไรก็ตามการจัดท าฉลากโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารทั่ว ๆ ไป เพอก าหนดให้แสดง
                  คุณค่าทางโภชนาการของอาหารนั้นว่าปริมาณสารอาหารที่มีนั้นเป็นสัดส่วนเท่าใดของปริมาณที่ผู้บริโภค
                  ต้องการต่อวัน จึงจ าเป็นต้องมีค่าความต้องการสารอาหารต่อวันส าหรับบุคคลทั่วไป (ตั้งแต่เด็กถึงผู้ใหญ่) เพยง
                                                                                                           ี
                  ค่าเดียว เพอใช้ส าหรับการค านวณและเปรียบเทียบดังนั้นส านักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงได้จัดท า
                            ื่
                  บัญชี สารอาหารที่แนะน าให้บริโภคประจ าวันส าหรับคนไทยอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป (Thai RDI) ขึ้น

                  เพื่อวัตถุประสงค์หลักในการเป็นค่าอ้างอิงส าหรับค านวณแสดงคุณค่าบนฉลากโภชนาการเท่านั้น

                         การแสดงฉลากโภชนาการจะต้องแสดงข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษาต่างประเทศด้วยก็ได้

                  โดยจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ก าหนดซึ่งสามารถแสดงกรอบข้อมูลโภชนาการแบบเต็มรูปแบบ
                                             ์
                  มาตรฐาน (รูปที่  6-7) หรือรูปแบบย่อ (รูปที่ 6-8)

                         การแสดงข้อมูลโภชนาการแบบย่อให้เลือกแสดงได้เมื่อสารอาหารที่ก าหนดในกรอบข้อมูลโภชนาการ

                  แบบเต็มส่วนที่ 2 จ านวนตั้งแต่ 8 รายการขึ้นไป จาก 15 รายการ มีปริมาณที่น้อยมากไม่มีความส าคัญจนถือว่า
                  เป็นศูนย์ตามหลักเกณฑ  ์


                                                                        ื่
                         ในกรณีที่ผลิตภัณฑ์ที่จ าหน่ายต้องผสมกับส่วนประกอบอน และ/หรือน าไปผ่านกรรมวิธีตามที่ระบุบน
                  ฉลากก่อนบริโภค หากต้องการแสดงกรอบข้อมูลโภชนาการของผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในสภาพตามที่จ าหน่าย และใน

                  สภาพหลังเตรียมตามค าแนะน าบนฉลากให้แสดงตามรูปแบบกรอบข้อมูลโภชนาการแบบควบคู่นี้ (รูปที่ 6-9)

                                               ิ่
                  นอกจากนี้ยังมีการออกประกาศเพมเติมเกี่ยวกับการแสดงฉลากของอาหารบางชนิด (รูปที่ 6-10 และ รูปที่
                  6-11) ได้แก  ่
                             o อาหารที่มีวัตถุที่ใช้เพอรักษาคุณภาพหรือมาตรฐานของอาหารอยู่ในภาชนะบรรจุ
                                                   ื่
                  (ตามประกาศฯ ฉบับที่ 244 พ.ศ. 2544)

                             o อาหารที่มีส่วนผสมของว่านหางจระเข้ (ตามประกาศฯ ฉบับที่ 245 พ.ศ. 2544)
                             o อาหารที่มีใบแปะก๊วยและสารสกัดจากใบแปะก๊วย (ตามประกาศฯ ฉบับที่ 255 พ.ศ. 2545)

                             o อาหารส าเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันทีบางชนิด (ตามประกาศฯ ฉบับที่ 305 พ.ศ. 2550)












                                                                                                            113
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131