Page 88 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 88
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
สวนผลขางเคียงนั้น ไดแก ออนเพลีย ทองผูก หายใจลําบาก ปสสาวะลําบาก
ิ
ปากแหง เหงื่อแหง มานตาขยาย ตาพรามัว อาจเกด postural hypotension ได จึง
ควรนอนพักหลังฉีดยานี้สักพักหรือจนยาหมดฤทธิ์กอน เพื่อปองกันอุบัติเหตุ
4.2.2 ยาที่ทําใหเกด depolarization เปนเวลานาน จนการสงผานกระแสประสาท
ิ
ุ
หยดชะงัก ตัวอยางสารกลุมนี้เชน nicotine ในขนาดสูง ๆ ยานี้ไมใชประโยชนทาง
คลินิก
4.2.3 ยาที่รบกวนการปลอย ACh จากปลายประสาทของ preganglionic neuron
เชน hemicholinium, botulinum toxin, ยาชาเฉพาะที่บางชนิด เปนตน ยากลุมนี้
นํามาใชประโยชนทางคลินิกนอย และมักใชในการทดลองและวิจัย
สรุป
สารที่มีผลตอระบบประสาทพาราซิมพาเทติกมี 2 แบบ คือ กระตุนและยับยง ฤทธิ์ทาง
ั้
ั
เภสัชวิทยาก็คือผลของสารนั้นที่เสมือนการกระตุนและยบยั้งระบบประสาทตามลําดับ การ
กระตุนหรือยับยั้งนั้นมีหลายกลไก สารบางชนิดออกฤทธิ์แลวเกดผลที่สามารถนํามาใชประโยชน
ิ
ทางคลินิกหรือใชประโยชนอน ๆ ได สารบางชนิดก็เปนเพียงสารที่เปนแบบจําลองในการทดลอง
ื่
ิ
ึ้
ั
หรือวจัยในหองปฏิบัติการเทานั้น การที่เราจะนําสารใดมาใชหรือไมก็ขนกบวาสารนั้น มี
ี
ั
ี
่
ประโยชนทเราตองการมากนอยเพยงใด เปรยบเทยบกบผลเสียหรือผลขางเคียงแลวคุมหรือไม
ี
ี
รวมถึงการพิจารณารายงานหรือบันทึกที่ผานมา นํามาเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจ ดังนั้นเรา
ั
อาจเห็นการนําสารเหลานี้ไปใชประโยชนนอกเหนือจากนี้กเปนได ซึ่งขนกบสถานการณและการ
ึ้
็
ตัดสินใจของผูใชแตละรายวาจะเลือกใชประโยชนใดของสารเหลานั้น
~ 68 ~