Page 86 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 86
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
ผลขางเคียงของ antimuscarinic agents
ิ
ที่พบโดยทั่วไปคือ ปากแหง กระหายน้ํา กลืนลําบาก ตาพรามัว (blurred vision) อาจเกด
ิ
ิ
urinary retention ในคนชรา มึนงง ปวดศีรษะ ในขนาดสูง ๆ จะเกดพษตาง ๆ คือ มานตา
ขยาย หัวใจเตนเร็วแรง ทองผูกเนื่องจากระบบทางเดินอาหารทํางานนอยลง ปสสาวะคั่ง ตาพรา
ผิวหนังแหงและรอน มีไข กระวนกระวาย อาจมีประสาทหลอน การรักษาอาการพิษอาจชวยโดย
การรักษาตามอาการหรืออาจใหยา diazepam ชวยทําใหสงบระงับ antidote ของ atropine
ไดแก physostigmine, neostigmine
ขอควรระวังและหามใช
ไมควรใชยากลุมนี้ในผูปวยตอหิน ผูที่มีกระเพาะอาหารหรือทกระเพาะปสสาวะมีการคั่งคาง
(gastric and urinary retention) ผูปวยตอมลูกหมากโต เปนตน
ตารางที่ 2.4 การประยกตใชทางคลินิกของยากลุม muscarinic antagonists (ดัดแปลงจาก
ุ
Katzung & Vanderah, 2021)
อวยวะ ผลของยา การประยุกตใชทางคลินิก
ั
ระบบประสาท ลดอาการเมารถเมาเรือ เมารถเมาเรือ
สวนกลาง (Motion sickness) โรคพารกินสัน
ลด Extrapyramidal
effect
ตา กลามเนื้อเรียบยึดเลนสตา การมองเห็นผิดปกติในทารก (refraction in
หยอน(Cycloplegia) infants) ตรวจเรตินา ลดการเกาะติด
Mydriasis (adhesions)
ระบบทางเดิน ลด secretion โรคกระเพาะอาหารที่มีภาวะกรดหลั่งมาก
อาหาร ลด motility (acid-peptic disease) ภาวะน้ําลายออก
มาก ภาวะหดเกร็งชั่วคราว หรือทองเสีย
ระบบสืบพันธุและ ลด bladder wall tone ภาวะหดเกร็งชั่วคราว หรือกระเพาะ
ขับถายปสสาวะ ปสสาวะบีบตัวไวเกิน
หลอดลม คลายตัว โรคหืด
~ 66 ~