Page 85 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 85

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                       3.1.2  Scopolamine (L-hyoscine)

                                            ่
                                            ี
                                              
                              เปนอัลคาลอยดทไดจากพืช  คือ  Hyoscyamus  niger  (henbane) ฤทธิ์ของ
                       scopolamine จะสั้นกวา atropine และมีผลตอระบบประสาทสวนกลางทําใหงวงซึม
                       เคลิ้มสุข  (euphoria)  หลงลืม  (amnesia)  ลาและหลับ  ดังนั้นอาจผสมรวมกับ
                       antihistamine เพื่อทําเปนยานอนหลับ แตบางครั้งอาจมีการกระตุน CNS โดยเฉพาะ

                       อยางยิ่ง เมื่อมีความเจ็บปวดอยางรุนแรงมากอน

                                                    ึ้
                                                  
                              ยังมีสารที่สังเคราะหขนมาเลียนแบบโครงสรางของ atropine เชน
                       quaternary analog of natural alkaloids เชน homatropine methylbromide
                       (Novatrin ) เปนสารที่สังเคราะหขนมาโดยดัดแปลงเพอลดผลขางเคียงที่เกดขึ้น เชน
                                                                     ื่
                                                    ึ้
                               ®
                                                                                      ิ
                       ย า พ ว ก   quaternary  ammonium  compound  (atropine  methylnitrate,
                       scopolamine methylbromide) จะลดผลขางเคียงตอระบบประสาทสวนกลาง โดย
                       ลดการผาน blood brain barrier แตจะถูกดูดซึมโดยลําไสไมดีนัก


               ประโยชนทางคลินิกของ antimuscarinic agents (ตารางที่ 2.4)

               1.  ใชเปนยารักษาการหดเกร็งผิดปกติของกลามเนื้อเรียบ (antispasmodic agents)
               2.  ใชหยอดตาทําใหรูมานตาขยาย เพื่อชวยในการตรวจและรักษาโรคตาบางชนิด

               3.  ชวยในการวางยาสลบ ใชเปนที่ใหกอนวางยาสลบ (preanesthetic medication) เพื่อลด
                                                 
                                    ิ
                   สารคดหลังในทางเดนหายใจ
                        ั
                           ่
               4.  ใชในภาวะทางเดินอาหารทํางานมากผิดปกติ (functional gastrointestinal
                   disturbances)
                                                                                                  ิ
                             ิ
                     
               5.  แกอาการพษจากสารพวก anticholinesterases โดยเฉพาะกลุม organophosphates หรือพษ
                   จากเห็ดบางชนิด
                                             ิ
               6.  บรรเทาอาการสั่นของโรคพารกนสัน
               7.  scopolamine ใชแกอาการเมารถ เมาเรือไดเนื่องจากมีผลตอ CNS









                                                    ~ 65 ~
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90