Page 32 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 32

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


               normetanephrine (NM) ซึ่งจะถูกเปลี่ยนแปลงตอไดโดย MAO  ใน postsynaptic cell
                    ั
               เชนกน และไดสาร 3-methoxy-4-hydroxyl-mandelic acid (VMA) ซึ่งเปนผลผลิตจากการ
               เปลี่ยนแปลง catecholamines ที่จะถูกขับออกมาทางปสสาวะ ดังนั้นการเกบปสสาวะ 24
                                                                                  ็
               ชั่วโมงเพื่อวิเคราะหหาระดับ VMA จึงสามารถใชในการชวยวินิจฉัยความผิดปกติของการทํางาน
               ของสารสื่อประสาทกลุมนี้ได ดังแสดงรายละเอียดในภาพที่ 1.6 สารสื่อประสาท NE พบไดหลาย

               ๆ ที่เชนกัน เชน บริเวณ postganglionic sympathetic endings สมองสวน cerebral cortex
               และ cerebellum เปนตน ดังรายละเอียดในตารางที่ 1.1 และการออกฤทธิ์ของสารสื่อประสาท

                              
                                  ึ้
                                    ั
               NE นั้นมีหลายอยางขนกบชนิดของรีเซ็พเตอร ซึ่งรีเซ็พเตอรสําหรับสารสื่อประสาท NE แบง
                                                                                             
               ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ alpha-adrenoceptors () และ beta-adrenoceptors
               () บริเวณที่พบการหลั่งสารสื่อประสาท ACh และ NE ใน PNS แสดงดังภาพที่ 1.7


                   2.3 Dopamine (DA)
                              ่
                         
                                            ิ
                       เปนสารสือประสาทอีกชนดทควรศกษาทาความเขาใจ เนืองจากเปนสารสือประสาททม    ี
                                              ่
                                                                                   ่
                                                                     ่
                                                                                             ่
                                                                                             ี
                                                   ึ
                                              ี
                                                                
                                                        ํ
               ความเกี่ยวของกับระบบประสาทอยางมาก และมีความเกี่ยวของกับการสังเคราะห NE
                       DA เปนสารสื่อประสาทที่สังเคราะหจากกรดอะมิโน tyrosine เมื่อสังเคราะหไดจะเก็บ
                            
               ไวใน vesicles ของ dopaminergic nerve terminals (ภาพที่ 1.4B และ 1.5) พบวา 60-80%
               ของปริมาณ DA ที่หลั่งออกมาจะถูกเก็บกลับ จากนั้นบางสวนอาจถูกทําลายโดย MAO ใน
               mitochondria ไดเปน dihydroxyphenylacetic acid (DOPAC) และ DA ที่เหลือใน
               synaptic cleft บางสวนจะถูกทําลายโดย COMT ไดเปน 3-methoxytyramine (ภาพที่ 1.6)
                                                         ี่
                       DA จะจับกบ dopamine receptors ท postsynaptic membrane ซึ่งแบงเปน 2
                                 ั
               กลุม คือ D1-like family (กระตุน adenylate cyclase ประกอบดวย D1, D5) และ D2-like
               family (ยับยั้ง adenylate cyclase ประกอบดวย D2, D3, D4) โดย D1 receptors ที่สมองมี

               หนาที่ควบคุมและปรับการทํางาน (modulate) ของ D2 receptors ขณะที่ D1 receptors ที่
               peripheral tissues เชน หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไต เมื่อถูกกระตุนจะทําใหหลอดเลือดขยาย ทํา

               ใหความดันโลหิตลดลง นอกจากนั้น D2 receptors มีบทบาทสําคัญในระบบประสาทสวนกลาง

               และเปน autoreceptor ขณะที่ D3 receptors และ D4 receptors มีความสําคัญและเกี่ยวของ
               กับโรคทางจิตเวช


                                                    ~ 12 ~
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37