Page 27 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 27

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                                                                                             ั
                                                                  
               ของระบบทางเดินอาหารแยกออกมาจาก ANS เนื่องจากเปนระบบที่ใหญและซับซอนเชนกน
               เรียกวา ระบบประสาทเอ็นเทอริค (enteric nervous system) ในที่นี้จะไมขอกลาวถึงระบบ
                                                                ั
                                     ิ
               ประสาทนี้ และจะรวมอธบายไปพรอมกับระบบประสาทอตโนมัติ และ (2) ระบบประสาทโซ
                   ิ
               มาตก (somatic nervous system; SNS) ซึ่งควบคุมการทํางานของกลามเนื้อลาย (สามารถ
                             
                              ํ
                                    ิ
               ควบคุมไดภายใตอานาจจตใจ)
                        
                   ANS สามารถแบงยอยได 2 ระบบ คอ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic
                                                ื
                                       
               nervous system) และระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) ซึ่งจะ
               พบวาเมื่อยอคําแลว   จะไดคลายกับระบบประสาทสวนปลายและระบบประสาทโซมาติกตาม
               ลําดับ  บางครั้งจะเห็นในหนังสือบางเลมมีคํายอแตกตางกันไป  จึงไมควรจะยึดกับคํายอเหลานี้
               และควรยึดตามคําอธิบายในหนังสือแตละเลม

                   นอกจากนี้แลวอาจพบวามีการแบง ANS ไดมากกวา 2 ระบบ โดยจะเพิ่มเติมจากระบบ

               ประสาทซิมพาเทติกและพาราซิมพาเทติก คือ ระบบประสาท nonadrenergic-
               noncholinergic (NANC) เปนระบบประสาทซึ่งควบคุมการทํางานของอวัยวะภายในททํางาน
                                                                                        ี่
                      ั
               ไมสัมพนธกับระบบประสาทซิมพาเทติกและพาราซิมพาเทติก และมีสารสื่อประสาทที่ตาง
                        
               ออกไป สารสื่อในระบบประสาทนี้มักเปนกลุม peptides ไดแก nitric oxide (NO), adenosine
               triphosphate (ATP), serotonin (5-HT) เปนตน ซึ่งในที่นี้จะไมขอกลาวถึงในรายละเอียด



                                       
               2.  สารสื่อประสาทที่เกี่ยวของและการสังเคราะหสารสื่อประสาท
                                                   
                   เมื่อระบบประสาทสวนกลางมีคําสั่งใหระบบประสาทสวนปลายทํางานโดยผานทางสารสื่อ
               ประสาท ผลที่เกดขึ้นบริเวณอวัยวะที่อยูในความควบคุมของระบบประสาทสวนปลาย คือ
                              ิ
               กลามเนื้อลาย (ภายใตการควบคุมของระบบประสาทโซมาติก) กลามเนื้อเรียบ หัวใจ และตอม
               ตาง ๆ  (ภายใตความควบคุมของ ANS) จะรับคําสั่งผานเซลลประสาทโดยมีรีเซ็พเตอรที่แตกตาง

               กันเปนตัวรับทราบขอมูลและมีการกระตุนผานกลไกตาง ๆ  ใหเกิดการทํางาน ดังนั้นจึงเปนเรื่อง
               สําคัญที่จะตองทราบถึงความรูเบื้องตนในเรื่องของสารสื่อประสาทและรีเซ็พเตอรกอน ไมวาจะ

               เปนชนิด โครงสรางและบทบาทหนาที่ เพื่อเปนแนวทางการทําความเขาใจในเรื่องหนาที่ทสําคัญ
                                                                                         ี่
               ของระบบประสาทสวนปลายตอไป




                                                    ~ 7 ~
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32