Page 22 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 22
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
แนวคิดรวบยอด
ระบบประสาทในรางกายของมนุษยมีความซับซอน และมีหนาที่สําคัญในการควบคุมการ
ทํางานของอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย การแบงระบบประสาทเปนสวน ๆ จะทําใหสามารถ
ู
อธิบายการทํางานไดงายขึ้น ระบบประสาทจึงถกแบงเปน 2 สวน คือ ระบบประสาทสวนกลาง
(Central Nervous System; CNS) และระบบประสาทสวนปลาย (Peripheral Nervous
System; PNS) โดยที่ระบบประสาทสวนปลายนั้นจะถูกแบงยอยเปน 2 สวน คือ ระบบ
ประสาทอัตโนมัต (Autonomic Nervous System; ANS) และระบบประสาทโซมาติก
ิ
ื่
ิ
(Somatic Nervous System; SNS) ในที่นี้จะใชคํายอเพอใหเกดความกระชับในเนื้อหา แตม ี
ี่
ึ
ขอควรพงระวังในการอานตัวยอตาง ๆ ในหนังสืออื่น ๆ ซึ่งอาจมีการใชคํายอทแตกตางกันไป
ดังนั้นควรตรวจสอบคําเต็มกอนเสมอเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตอง
ANS เปนระบบประสาทที่มีความซับซอน ควบคุมการทํางานของอวัยวะหลายระบบ ไดแก
กลามเนื้อเรียบ (smooth muscles) กลามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) และตอม ๆ
(glands) มีหนาที่ตอรางกาย คือ ควบคุมการยอยอาหารและขับถาย ควบคุมการไหลเวียน
ุ
โลหิตและอณหภูมิของรางกาย ควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึม และควบคุมการคัดหลั่งของ
ั้
สารจากตอมตาง ๆ ดังนั้น ANS จึงมีความสําคัญมากในการควบคุมการทํางานของรางกายทงใน
ภาวะปกติพักและยอยอาหาร (rest and digest) และภาวะที่ตองตอสูหรือหนี (fight or flight)
ANS ประกอบดวย 2 ระบบยอย คือ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic
nervous system) และระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nervous system) โดย
พบวาระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะควบคุมการทํางานของรางกายเมออยูในภาวะปกติ เปน
ื่
การสะสมพลังงาน (anabolism) สวนระบบประสาทซิมพาเทติกมีผลตอรางกายในการกระตุน
ใหตอสู ในภาวะตกใจและตองการใชพลังงาน (catabolism) ระบบประสาททั้งสองมักจะทํางาน
ึ้
ั
ื่
ตรงขามกนอยางสิ้นเชิง โดยการสั่งงานของ ANS นั้นจะขนกับสวนสําคัญ 2 สวน คือ สารสอ
ประสาท (neurotransmitters) และรีเซ็พเตอร (receptors) โดยสารสื่อประสาทที่เขามา
เกี่ยวของในระบบประสาทนี้จะมีหลายชนิด แตที่สําคัญ ไดแก อะเซทิลโคลิน (acetylcholine,
ACh) และ นอรอิพิเนฟริน (norepinephrine, NE) และรีเซ็พเตอรทพบในระบบประสาท
ี่
พาราซิมพาเทติกและระบบประสาทซิมพาเทติกนั้นก็มีหลายชนิดและยังสามารถแบงกลุมยอยได
~ 2 ~