Page 26 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 26

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                               บทนําและสรีรวิทยาของระบบประสาทสวนปลาย






               1.  บทนํา
                   การติดตอสื่อสารภายในระบบประสาทจะเกดขึ้นเมื่อมีการสงสัญญาณประสาท (nerve
                                                         ิ
                                                                      ื่
               impulse) จากเซลลประสาท (neuron) หนึ่งไปยังเซลลประสาทอน ซึ่งการสงสัญญาณประสาท
                                        
               จากเซลลประสาทหนึ่งที่อยูกอนปมประสาท (ganglion) ที่เรียกวา preganglionic neuron
               ไปยังเซลลประสาทหลัง (ใน) ปมประสาทที่เรียกวา postganglionic neuron ตองอาศัย

                        ี่
               สารเคมีทเรียกวา สารสื่อประสาท (neurotransmitter หรือ neurohumoral transmitter)
                            ี่
               โดยสัญญาณทสงผานสารสื่อประสาทจากปลายประสาท (nerve terminal) หนึ่ง จะขามผาน
               ชองวางที่เรียกวา synapse และสงสัญญาณผานไปยังเซลลประสาทหลังปมประสาทหรือ
               อวัยวะเปาหมาย (target organ) เราสามารถเรียกเซลลประสาทที่อยูกอนชองวาง synapse วา

               presynaptic neuron และเซลลประสาทที่อยูหลังชองวางวา postsynaptic neuron (ภาพ

               ที่ 1.1)
                   ระบบประสาทในรางกายแบงเปน 2 สวนใหญ ๆ (ภาพที่ 1.2) คือ ระบบประสาทสวนกลาง

               (central nervous system; CNS) ซึ่งเปนศูนยกลางที่จะคอยควบคุมการทํางานของรางกาย

                                         
               ทั้งหมด และระบบประสาทสวนปลาย (peripheral nervous system; PNS) ที่คอยนําเขา
               กระแสประสาทสู CNS และรับคําสั่งจาก CNS สงไปยังอวัยวะเปาหมาย

                   ระบบประสาทสวนปลาย (peripheral nervous system; PNS) แบงเปนขาเขา (afferent

               division) ซึ่งจะนําสัญญาณประสาทสงไปยัง CNS (sensory neuron) และขาออก (efferent
                                                                  ั
               division) ที่จะนําสัญญาณประสาท (คําสั่ง) จาก CNS สงไปยงอวัยวะเปาหมายตาง ๆ  ที่ระบบ
                                        ั
               ประสาทควบคุมเพื่อสั่งใหอวยวะนั้น ทํางาน (motor neuron) ระบบประสาทสวนปลายขา
               ออก (efferent division) (ภาพที่ 1.3) จะแบงไดเปน 2 สวนตามอวัยวะที่ถกสงไปควบคุม คือ
                                                                               ู
               (1) ระบบประสาทอัตโนมติ (autonomic nervous system; ANS) ซงควบคุมการทางานของ
                                                                          ึ
                                                                          ่
                                                                                      ํ
                                      ั
                                                                                
                                                               ํ
               อวัยวะภายในทั้งหมด (ไมสามารถควบคุมไดภายใตอานาจจิตใจ) ไดแก กลามเนื้อเรียบ
               กลามเนื้อหัวใจ และตอมตาง ๆ  บางครั้งอาจพบมีการแบงระบบประสาทที่ควบคุมการทํางาน

                                                    ~ 6 ~
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31