Page 178 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 178
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
2. พยาธิสรีรวิทยาของโรค
สาเหตุยังไมทราบชัดเจน อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอรโมน โดยเฉพาะฮอรโมนเพศ
ิ่
ชาย dihydrotestosterone ทําใหเกิดการเพมจํานวนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันของตอมลูกหมาก จึงเพม
ิ่
ขนาดตอมใหใหญขึ้น การตรวจโดยการคลําทางทวารหนัก (digital rectal exam, DRE) จะพบ
กอนผิวนอกเรียบ ปกติตอมลูกหมากมีน้ําหนักประมาณ 20-25 กรัม หรือ 30 มิลลิลิตร มีขนาด
เทาลูกวอลนัท เมื่อตอมลูกหมากโตขึ้นน้ําหนักอาจเพมเปนเกิน 200 กรัมได การวินิจฉัยแยกโรค
ิ่
ั
กบมะเร็งของตอมลูกหมากอาจทําโดยการตรวจระดับ Prostate-Specific Antigen (PSA) ใน
เลือด (คาปกติเทากับ 0-4 นาโนกรัม/มิลลิลิตร)
3. กลุมยาที่ใชรักษาโรค
ยาที่ใชรักษา BPH มี 2 กลุมหลัก คือ alpha blockers และ 5-alpha reductase
inhibitors ซึ่งยาที่เขาอยในบัญชียาหลักแหงชาติไดแสดงไวในตารางที่ 6.1 นอกจากนี้ยงมียาก
ู
ั
ลุมอื่นที่เปนยาทางเลือก คือ phosphodiesterase-5 inhibitors
- Alpha blockers (1A-adrenoceptor antagonist ไดแก tamsulosin,
silodosin และ 1-adrenoceptor antagonists ไดแก prazosin, doxazosin,
terazosin, alfuzosin)
ขนาดยาที่ใช
prazosin (Minipress ) ขนาด 2 มก. 2 ครั้ง/วัน, doxazosin (Cardura ) ขนาด 4-8
®
®
มก. วันละครั้งกอนนอน, terazosin (Hytrin ) ขนาด 5-10 มก. วันละครั้งกอนนอน,
®
®
®
alfuzosin (Uroxatral ) ขนาด 10 มก. วันละครั้งกอนนอน, tamsulosin (Flomax )
ขนาด 0.4 มก. วันละครั้งกอนนอน, silodosin (Rapaflo ) ขนาด 8 มก. วันละครั้งกอน
®
นอน
กลไกการออกฤทธิ์
ยาจะออกฤทธิ์ปดกนรีเซ็พเตอรชนิดแอลฟา (1) จึงลดการหดเกร็งของกลามเนื้อตอม
ั้
ลูกหมากและกลามเนื้อหูรูดที่คอกระเพาะปสสาวะ ออกฤทธิ์เร็ว ทําใหผูปวยรูสึกถาย
ี
ปสสาวะไดคลองขึ้นภายในไมกี่วัน หากหยุดยาอาการก็จะกลับมาเปนไดอก ยาบางชนิด
~ 157 ~