Page 86 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 86
โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 75
้
์
้
ื
บทที่ 3 เป้าหมายการรักษาโรคเบาหวาน
บทน า
ั
ั
้
้
เปาหมายสาคญในการรกษาผปวยโรคเบาหวาน ได้แก่ รักษาอาการที่เกิดขึ้นอน
ั
่
้
ู
เป็นผลเนื่องมาจากมีระดับน้้าตาลในเลือดสูง ป้องกันและรักษาภาวะแทรกซอนชนด
้
ิ
เฉียบพลัน ป้องกันหรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนชนิดเรื้อรัง ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ระหว่างการรักษา ในกรณีผู้ป่วยเป็นเด็กหรือวัยรุ่นควรได้รับการส่งเสริมให้มีการ
เจริญเติบโตให้ปกติสมวัย ในการก้าหนดเป้าหมายการรักษาผู้ป่วยนั้น ทีมผู้ดูแลผู้ป่วยต้อง
ื่
ท้าตั้งแต่เริ่มแรกที่ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน เพอให้บรรลุวัตถุประสงค์
ข้างต้นให้เร็วที่สุด โดยมีการวางแผนให้เหมาะสมกับผู้ป่วยในแต่ละราย ทั้งนี้ต้องระบุค่า
บ่งชี้ที่ต้องการตรวจวิเคราะห์ FPG, OGTT, HbA1C หรือ ระดับน้้าตาลในเลือดสูงสุดหลัง
้
ั
รับประทานอาหาร (postprandial blood sugar) ในระดบความเขมงวดในการควบคุม
ั
ึ
้
้
้
ั
ั
ี
่
เบาหวานจากนอยไปมากใหชัดเจน รวมถงการต้งเปาหมายในการควบคมปจจยเสยงของ
ุ
ภาวะแทรกซ้อนที่หลอดเลือด ได้แก่ ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด (ได้แก่ ค่า LDL-C,
HDL-C และระดบไตรกลเซอไรด) น้้าหนักตัว การออกก้าลังกาย การดื่มสุราและการสูบ
์
ั
ี
บุหรี่ เป็นต้น
3.1 เป้าหมายการควบคุมระดับน้ าตาลในเลือด
ี
้
้
ู
ู
จากแนวทางการดแลผปวยโรคเบาหวานของ ADA ในป ค.ศ. 2021 แนะนาให ้
่
ติดตามควบคุมระดับน้้าตาลในเลือด (glycemic control) ด้วยการประเมินค่า HbA1C ซง ึ ่
ค่านี้เป็นดัชนีหลักที่ใช้ติดตามประเมินผลในผู้ป่วย เนื่องจากสามารถบ่งชี้ถึงระดับน้้าตาลใน
่
ี
เลอดเฉลยในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา นิยมใช้กันมาก เพราะไม่จ้าเป็นต้องอดอาหารก่อน
ื
ตรวจเหมือน FPG โดยแนะน้าให้มีคา HbA1C น้อยกว่า 7% หากผู้ป่วยสามารถควบคุมได้
่
้
ตามเป้าหมาย จะท้าให้สามารถลด หรือ ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซอนที่มีต่อหลอดเลือด
(1)
เล็กและหลอดเลือดใหญ่ได้เร็วขึ้น ปัจจัยส้าคัญที่ควรพิจารณาเป้าหมายการรักษาร่วมกับ
ั
การประเมนค่า HbA1C เพ่อกาหนดระดบการควบคมเขมงวดจากนอยไปมาก เช่น
้
ิ
ื
้
้
ุ
ุ
่
ี
ระยะเวลาในการเป็นโรคเบาหวาน อายุคาดเฉลย (life expectancy) ความรนแรงของ