Page 235 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 235

13.2  บทบาทเภสัชกร: การผลิตและการให้บริการผู้ป่วย (Pharmaceuticals and Patient


                 Concerned)

                        พระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม (ฉบับ

                 ที่ 2) พ.ศ. 2558 ตามมาตรา 4 ค าจ ากัดความ “วิชาชีพเภสัชกรรม” หมายถึง วิชาชีพที่เกี่ยวกับการกระท าในการ
                 เตรียมยา การผลิตยา การประดิษฐ์ยา การเลือกสรรยา การวิเคราะห์ยา การควบคุมและการประกันคุณภาพยา

                 การปรุง และการจ่ายยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบ

                 วิชาชีพการสัตวแพทย์ การปรุงยา การจ่ายยา การขายยา และการด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยยา และ
                 กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับยา การให้ค าแนะน าปรึกษาและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา รวมทั้งการด าเนินการ

                 หรือร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุขในการค้นหา ป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับ

                 การใช้ยา

                        วิชาชีพเภสัชกรรม มีหลักการพนฐานของวิชาชีพที่ท างานคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งการท ายาที่ดีมีคุณภาพ
                                                   ื้
                 และการส่งมอบยาพร้อมการให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับยานั้น ๆ ที่ถูกต้อง นั่นคือ ให้ความส าคัญในเรื่องความ
                 ปลอดภัยจนเป็นที่รู้จักกันของชาวบ้านว่าเป็น “หมอยา”


                        ประวัติเภสัชกรรม มีวิวัฒนาการไปพร้อมกับประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ เนื่องจากยาเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่
                 และเภสัชกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวิวัฒนาการทางการแพทย์


                        ส าหรับประเทศไทย เภสัชกรรมเป็นส่วนหนึ่งของระบบการแพทย์แผนไทยมาโดยตลอด อาทิ การใช้
                 สมุนไพรและเภสัชวัตถุต่าง ๆ เข้าร่วมการรักษา การศึกษาทางด้านเภสัชศาสตร์ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นทางการ

                 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ในฐานะโรงเรียนแพทย์ปรุงยา (ปัจจุบันคือ คณะเภสัช
                 ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการก่อตั้งกองโอสถ

                 ศาลาขึ้น ต่อมาได้มีการจัดตั้งโรงงานเภสัชกรรมโดย เภสัชกร ดร. ตั้ว ลพานุกรม ซึ่งภายหลังได้รวมกับกองโอสถ

                 ศาลาจัดตั้งเป็นองค์การเภสัชกรรม

                        ค าว่า เภสัชกรรม ในภาษาไทย มาจากการประสมระหว่างค าว่า “เภสัช” (เภสชฺช) ซึ่งแปลว่า “ยา” และ

                 “กรรม” ซึ่งแปลว่า การงาน การกระท า จึงหมายรวมว่า การกระท าเกี่ยวกับยา หรือตามความหมายของ
                 ราชบัณฑิตยสถาน คือ วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมเครื่องยา ตัวยาจากธรรมชาติหรือการสังเคราะห์ให้

                 เป็นยาส าเร็จรูป เดิมในสยามประเทศได้ใช้ค าว่า “ปรุงยา” หรือ “ผสมยา” จนกระทั่งใน พ.ศ. 2475 ปทานุกรม

                                                                        ั
                 ไทยได้บัญญัติให้ใช้ค าว่า “เภสัชกรรม” แทน ส่วนในภาษาองกฤษ Pharmacy มีที่มาจากภาษากรีกคือ

                 pharmakon โดยมีรากศัพท์ภาษาตั้งแต่สมัยบาบิโลน pharmakon หมายถึง พืชที่มีอานาจวิเศษ โดยในกรีกมี
                                                                                   ิ
                 ความหมายว่า “ยา” ทั้งนี้ มีความหมายรวมถึง ยาที่ใช้ในการรักษาโรคและยาพษ ซึ่งมีความหมายกว้างกว่าเภสัช
                 กรรมในปัจจุบัน ซึ่งหมายถึงยาในการบ าบัดรักษาโรคเพียงอย่างเดียว







                                                                                                           222
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240