Page 99 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 99
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
ถาให -adrenergic blocker แลวฉีด Epi ตามเขาไป พบวาความดันโลหิต
จะกลับลดลง ทั้งนี้เพราะ -adrenergic blocker ไปปดกั้น -adrenoceptor ทําให
ิ
ู
Epi ออกฤทธิ์ตอรีเซ็พเตอรนี้ไมได แตฤทธิ์จาก -adrenoceptor ยังคงอยทาใหเกด
ํ
หลอดเลือดคลายตัว (รวมทั้งหลอดเลือดฝอย) จึงทาใหความดันโลหิตลดลง
ํ
ึ
ปรากฏการณเชนนี้เรียกวา epinephrine reversal (ภาพที่ 3.1) ดังนั้นจงควร
ระมัดระวังการให Epi เพื่อเพิ่มความดันโลหิตในผูไดรับ alpha blockers อยูกอนแลว
ISO มีผลตอหลอดเลือดนอย แตออกฤทธิ์กระตุน -adrenoceptor ทําใหเกิด
หลอดเลือดคลายตัว TPR ลดลงมากกวาเมื่อให Epi ดังนั้น ความดันโลหิตจงควรจะ
ึ
ลดลงแตผลปรากฏวาความดันโลหิตเปลี่ยนแปลงนอยมาก เนื่องจาก ISO ไปกระตุน
ิ
ึ้
ึ้
หัวใจทําใหหัวใจเตนเร็วขนและแรงขน ความดันโลหิตจงเพมขึ้นชดเชยการลดลงที่เกด
ิ่
ึ
จากผลที่หลอดเลือด
- ผลตอหัวใจ
Adrenergic receptor ที่หัวใจ สวนใหญเปน -adrenoceptor ดังนั้นพวก
1
- agonists จึงไมมีผลทําใหหัวใจเตนเร็วและแรงขึ้น Catecholamines ออกฤทธโดย
ิ์
การจับกบ -adrenoceptor มีผลทําให HR contractility และ conduction
ั
velocity สูงขึ้น โดยมี potency ดังนี้ ISO>Epi>NE>phenylephrine (ภาพที่ 3.2)
ั
ISO มีฤทธิ์ตอหัวใจมากที่สุดทั้งในแงอตราการเตนและความแรงในการบีบตัว
ของหัวใจ Epi รองลงมา สวน NE มีผลตอหัวใจนอยเนื่องจาก direct cardiac action
ถูกชดเชยดวย vagal reflex อนเปนผลมาจากหลอดเลือดหดตัวของ NE จึงทําให HR
ั
ไมเพิ่มขึ้น
- ผลตอการไหลเวียนโลหิตที่สมอง (cerebral blood flow)
ที่บริเวณนี้จะมี -adrenoceptor ดังนั้น NE และ Epi จึงทําใหเกิดการหด
ี่
ตัวของหลอดเลือดทสมองได
~ 79 ~