Page 231 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 231

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

                                              ยารักษาโรคตอหิน





               1.  บทนํา
                          ิ
                                                                          ้
                  โรคตอหน เปนโรคทเกดพยาธสภาพทีเซลลของจอประสาทตาและขวประสาทตา จนอาจทา
                                    ี
                                    ่
                       
                                      ิ
                                                                          ั
                                                                                             ํ
                                            ิ
                                                      
                                                  ่
                                        ิ
                                                                     ึ้
                                                                                      ิ
                ใหตาบอดได สาเหตุหลักเกดจากความดันภายในดวงตาสูงขน ปจจัยของการเกดโรคอาจ
                เกยวของกบพนธกรรม สายตาสั้นหรือยาวมากผิดปกติมาก อายุ เชื้อชาติ โรครวม เชน
                                ุ
                  ี่
                             ั
                          ั
                โรคเบาหวาน โรคของดวงตา เปนตน การไหลเวียนผิดปกติหรือการสรางออกมามากของน้ําใน
                                                                        ํ
                                                  ึ้
                ดวงตามีสวนทําใหความดันในดวงตาสูงขน ระบบประสาทอัตโนมัติทาหนาที่ควบคุมการทํางาน
                ของดวงตา ไดแกที่ ciliary body (epithelium) มี -adrenoceptor ควบคุมการสรางน้ําใน
                ดวงตา สวนที่กลามเนื้อเรียบของมานตาหรือ iris โดยกลามเนื้อเรียบชนิด circular muscle มี
                muscarinic (M) receptor และ radial muscle มี -adrenoceptor ซึ่งมีผลทําใหเกด
                                                                                             ิ
                miosis และ mydriasis ตามลําดับ กลไกดังกลาวมีสวนเกี่ยวของกบทางไหลของน้ําในดวงตา
                                                                        ั
                                                                    
                (ดังภาพที่ 9.1)

               2.  พยาธิสรีรวิทยาของโรค
                                                        ึ้
                 ตอหินเปนโรคที่มีความดันภายในดวงตาสูงขน (มากกวา 21 mmHg) สําหรับตอหนมมปด
                                                                                          ุ
                                                                                       ิ
               เฉียบพลัน (acute angle-closure glaucoma) จะมีความดันในดวงตาสูงขึ้นมากแบบเฉียบพลัน
               ทําใหตาแข็งเหมือนหินและกระจกตาอาจขาวขุนจึงเปนที่มาของชื่อโรคนี้ อยางไรก็ตามผูปวยโรค
                                                              
                                                       ี
                                   ิ
                               
               ตอหินสวนใหญไมไดเกดอาการดังที่กลาวมา อกทั้งผูปวยตอหินชนิดมุมเปดเรื้อรัง (chronic
               open-angle glaucoma) โดยเฉพาะแบบไมทราบสาเหตุซึ่งเปนชนิดที่พบไดบอย อาจไมแสดง
                                                                                         
                                                                                             ็
               อาการใด ๆ ผูปวยจะไมทราบวามีความผิดปกติจนลานสายตาคอย ๆ ลดลง สูญเสียการมองเหน
               อยางชา ๆ และเมื่อมีอาการตามัวจึงคอยมาตรวจพบวาเปนโรค ดังนั้นในผูมีความเสี่ยงควรตรวจ
               ตาอยางนอยปละครั้งเพอปองกันการสูญเสียดวงตา ความดันในดวงตาจะเพมขึ้นจากกลไกหลัก
                                                                              ิ่
                                   ื่
                    
               สองกลไกที่ขาดสมดุล คือ ทางน้ําไหลของน้ําในดวงตาโดนกดขวาง หรือมการสรางน้ําในดวงตา
                                                                 ี
                                                                            ี
                                                                     ั
               มากขึ้น นอกจากนี้ความดันในดวงตาอาจสูงขึ้นชั่วคราวจากปจจยอื่น ๆ ได เชน หลังการผาตัด
               ดวงตา การไดรับยาบางชนิด เชนกลุม anticholinergic drugs หรือ succinylcholine เปนตน
                                                   ~ 210 ~
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236