Page 191 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 191

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


                                       ยารักษาโรคหืดกําเริบเฉียบพลัน





               1.  บทนํา

                               ั
                   โรคหืดเกิดไดกบคนทุกเพศทุกวัย มักมีอาการครั้งแรกกอนอายุ 20 ป เปนบอยในฤดูฝนและ
                                                                                             ิ่
                                           ี่
               ฤดูหนาว เปนโรคที่เกิดจากการท tracheobronchial tree มีการตอบสนองตอสิ่งกระตุนเพม
               มากกวาคนปกติ ทําใหเกิดการหดตัวของทางเดินหายใจ (acute asthma attack หรือ asthma
                                              ิ
                                        
               exacerbation) ซึ่งโรคนี้จะกอใหเกดความทรมานอยางมากตอผูปวย เมอมีการหดตัวของ
                                                              
                                                                               ื่
               bronchus หรือ bronchioles ที่เราเรียกวา bronchospasm จะทําใหการหายใจเปนไปอยาง
                           ั
                                                    ี่
               ลําบาก รวมกบมีเสียง wheezing  ในชวงทไมมีอาการจะเหมือนคนปกติทั่วไป  แตถามีอาการ
               ของโรคหืดติดตอกันตลอดเวลาไมมีชวงหายจะเรียกวา status asthmaticus (บางรายเกิดจากมี
               ภาวะหลอดลมอักเสบเรื้อรัง) ซึ่งอาจจะเปนสาเหตุทําใหเสียชีวิตได

                   ยาที่ใชรักษาโรคหืดแบงเปน 2 กลุมใหญ คือ กลุมยาขยายหลอดลม (bronchodilators)

                                 ั
               และกลุมยาตานการอกเสบ (anti-inflammatory agents) นอกจากนี้ยังมียากลุมอื่นที่อาจมีใช
               เพื่อบรรเทาอาการรวม เชน ยาบรรเทาอาการไอ (ยาขับเสมหะ หรือยาละลายเสมหะ)


               2.  พยาธิสรีรวิทยาของโรค

                   สาเหตุของโรคเกิดจากการที่หลอดลมของผูปวยมีความไวตอสิ่งกระตุนมากกวาคนปกติ

                                                                   ี
                                                                     ่
                                                                   ่
                                                          ํ
                                                             
                                                                                          ั
               (increase airway hyperresponsiveness) มผลทาใหเซลลทเกยวของกบกระบวนการอกเสบ
                                                                            ั
                                                                     ี
                                                                         
                                                      ี
               บริเวณหลอดลมเพิ่มจํานวนมากขึ้น ซึ่งพบปริมาณมากกวาคนปกติ สงผลใหเกิดการอักเสบเรื้อรัง
                       ื่
                                          ี่
               ของชั้นเยอบุทางเดินหายใจ ที่เกยวของกับระบบภูมคุมกัน เชน mast cells, T-lymphocytes,
                                                          ิ
               B-lymphocytes และ eosinophils ทําใหเกดการกระตุนการหลั่งสารเคมีในทางเดินหายใจ
                                                     ิ
               ไดแก histamine, leukotriene (LTs) C4/D4, prostaglandin D2, tryptase, PAF และ
               cytokines (ซึ่งมีหลายชนิด เชน interleukin (ILs) ชนิดตาง ๆ ไมวาจะเปน IL-4 , IL-5 และ IL-
               13 เปนตน) เยื่อบุทางเดินหายใจของผูปวยมักจะบวม ประกอบกับมีเสมหะมาก ผูปวยจึงมี
               ชองทางเดินหายใจที่แคบกวาคนปกติ เมื่อไดรับสิ่งกระตุนการแพจะมอาการที่เรียกวา acute
                                                                          ี
               asthma attack เนื่องจากเกิดการหดตัวของกลามเนื้อเรียบของหลอดลมแบบเฉียบพลัน การหด
                                                   ~ 170 ~
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196