Page 189 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 189

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


                                                แนวคิดรวบยอด


                                                                               ุ
                       โรคหืด คือความผิดปกติของทางเดินหายใจสวนลาง มีภาวะการอดกนของทางเดิน
                                                                                  ั้
                                                                              ั
               หายใจแบบชั่วคราว (reversible airway obstruction) จากการไดรับปจจยกระตุนกลามเนื้อ
                                      
               เรียบของทางเดินหายใจใหหดตัว นํามาซึ่งภาวะหายใจลําบากและทุกขทรมาน  ระบบประสาท
               อตโนมติทําหนาที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อเรียบและการหลั่งสารคัดหลั่งในทางเดิน
                      ั
                 ั
                                   ิ
               หายใจ ในบทนี้จะไดอธบายถึงพยาธิสรีรวิทยาการเกดโรคหืด และกลุมยาที่ใชรักษาโรคนี้ โดย
                                                            ิ
               เนนที่ระยะที่มีอาการหืดกําเริบเฉยบพลัน ซึ่งกลุมยาที่ใชบรรเทาอาการไดแกยาขยายหลอดลม
                                           ี
               ซึ่งหากแบงตามกลไกการออกฤทธิ์แบงได 3 กลุม ในบทนี้ไดอธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยาแต
               ละกลุม ยกตัวอยางยา ขอมูลรูปแบบยาและการบริหารยา ผลขางเคียงและขอควรระวังในการใช

               ยา นอกจากนี้ในปจจุบันไดมการรวบรวมขอมูลงานวิจัยมาวิเคราะห พบวายาขยายหลอดลมบาง
                                       ี
               กลุมเหมาะที่จะเปนยาควบคุมอาการ (controller) มากกวานํามาใชเพื่อบรรเทาอาการหอบหืด
               (reliever) การใชกลุมยาขยายหลอดลมตามแนวทางคําแนะนําของ Global initiative for

               asthma (GINA) guideline สําหรับโรคหืดไดอธิบายรายละเอียดไวในบทนี้ดวยเชนกัน



































                                                   ~ 168 ~
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194