Page 169 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 169

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

                                                                                            
                                   
               อาการปากแหงตาแหง) และผูปวยทองผูก นอกจากนี้ยากลุมนี้ควรระวังการใชในผูปวย
               cognitive impairment ตอมหมวกไต และตอหิน


                   -  Beta3-adrenoceptor agonists

                       ไดแก mirabegron (Myrbetriq ) ขนาด 50-100 มก.
                                                 ®
                                                                                        
                       กลไกการออกฤทธิ์  ยาออกฤทธิ์กระตุน beta3-adrenoceptor ที่กระเพาะปสสาวะ
               ทําใหกลามเนื้อเรียบ detrusor คลายตัว

                       ผลขางเคียง  ปากคอแหง ทองผูก (พบนอยกวายากลุมขางตน) ความดันโลหิตสูง หัว
               ใจเตนผิดจังหวะ ใชยาระยะยาวอาจเกิดการดื้อยา



                   -  Botulinum toxin (ฉีดเขาที่กลามเนื้อเรียบของกระเพาะปสสาวะ)
                       ไดแก onabotulinumtoxinA (BOTOX) ฉดขนาด 100 ยูนิต intradetrusor 1-2
                                                           ี
                            
                       ครั้ง/ป
                       กลไกการออกฤทธิ์  ยามีกลไกยับยั้งการหลั่งสารสื่อประสาท ACh จึงยับยงการทํางาน
                                                                                    ั้
               ของทั้งระบบประสาทพาราซิมและโซมาติก จัดเปน anticholinergic drugs ชนิดหนึ่ง ในกรณีนี้

               ยาจะลดการกระตุน muscarinic receptor ที่กระเพาะปสสาวะ
                           
                       ผลขางเคียง   จะคลายยากลุม antimuscarinic drugs และมีผลขางเคียงบริเวณที่ฉีด
               ยา เนื่องจากยาเปนรูปแบบฉีด  โดยฉีดเขาที่กระเพาะปสสาวะโดยตรง (intradetrusor) รวมกับ

               การสองกลอง  อาจทําใหเกิดการติดเชื้อของกระเพาะปสสาวะ นอกจากนี้ยาทําใหกลามเนื้อลาย
               คลายตัวไดอาจเปนสาเหตุทําใหกลืนลําบาก กลามเนื้อหายใจหยุดทํางานไดหากยามีการ

               แพรกระจายไปที่อื่น

                       ขอมูลยาที่ไดเขาบัญชียาหลักแหงชาติ ประกาศฉบับที่ 1 ณ วันที่ 31 พ.ค. พ.ศ.2564
               (National drug information, 2564) ไดแสดงไวในตารางที่ 5.1 มีเพียงกลุม antimuscarinic

               antagonists คือ Oxybutynin hydrochloride ชนิด IR-tab









                                                   ~ 148 ~
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174