Page 165 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 165

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

                                                แนวคิดรวบยอด


                                                   ิ
                       ภาวะกระเพาะปสสาวะบีบตัวไวเกนเปนอาการผิดปกติของทางเดินปสสาวะสวนลาง แบง
               อาการได 2 กลุมใหญ คือ กลุมอาการผิดปกติในการเก็บปสสาวะ (storage symptoms) หรือ

                                           ี
               เรียกวา OAB-wet เนื่องจากจะมอาการกลั้นปสสาวะไมได ปสสาวะเล็ดหรือราด และกลุมอาการที่
                                                                                               ั
                                ั
                       
               สองจะเปนอาการขบปสสาวะออกลําบาก (voiding symptoms) คือกลุมที่ใชเวลานานในการขบ
               ปสสาวะออก อาจจะเรียกกลุมนี้วา OAB-dry  ระบบขับถายปสสาวะเปนกลามเนื้อเรียบซึ่งควบคุม
               ดวยระบบประสาทอัตโนมัติ  การรักษาดวยยาจะเนนยาที่ทําใหกลามเนื้อเรียบของกระเพาะ
                                                                       
                                          ั
                                       
                                   ี่
                                                                    
               ปสสาวะคลายตัวซึ่งเกยวของกบรีเซ็พเตอรหลายชนิด ไดแก muscarinic receptor และ 3-
               adrenergic receptor เมื่อระบบขับถายปสสาวะควบคุมโดยระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
               ดังนั้นในการลดปญหาการขับถายปสสาวะนี้จึงเปนการลดการสั่งการของระบบประสาทนี้ดวย

                                                  ิ่
               antimuscarinic drugs และอีกดานคือเพมการทํางานของระบบประสาทซิมพาเทติกดดวย 3-
               adrenoceptor agonists







































                                                   ~ 144 ~
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170