Page 167 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 167

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

                                  ยารักษาภาวะกระเพาะปสสาวะบีบตัวไวเกิน





               1.  บทนํา

                   ภาวะกระเพาะปสสาวะบีบตัวไวเกน (over active bladder; OAB) เปนอาการผิดปกติของ
                                               ิ
               ระบบทางเดินปสสาวะสวนลางหรือ lower urinary tract symptoms (LUTS) โดย
                                
               International Urogynecological Association (IUGA) และ International Continence

               Society (ICS) ค.ศ. 2019 ไดใหนิยาม OAB วาเปนภาวะอาการปสสาวะรีบเรง (urinary
               urgency) ที่มีอาการปสสาวะบอย (มากกวา 8 ครั้งตอวัน) และปวดปสสาวะตอนกลางคืนจน
                                  
               ตองลุกไปถายเกิน 2 ครั้งขนไป (nocturia) อาจมีหรือไมมีอาการกลั้นปสสาวะไมไดเมื่อปวด
                                      ึ้
               ปสสาวะจนปสสาวะเล็ดหรือราด (urge incontinence หรือ urgency urinary incontinence,
                        
               UUI) ซึ่งเปนอาการที่พบไดบอย โดย OABจะมีอาการที่กลาวมาตั้งแตหนึ่งอาการขึ้นไป มีอาการ
               ทุกวันหรือเปน ๆ หาย ๆ ทั้งนี้อาการตองไมเกิดจากการติดเชื้อของทางเดินปสสาวะหรือเกิดจาก
               โรคอื่น ๆ ดังนั้นสามารถสรุปอาการสําคัญของ OAB ไดเปน 4 อาการหลัก ดังนี้ urgency,

               frequency, nocturia และ urge incontinence  ซึ่งลวนแตเปนอาการที่มีผลกระทบตอ

               คุณภาพชีวิตของผูปวยได OAB พบได 7-27% ในเพศชายและ 9-43% ในเพศหญิง ในบางครั้ง
                                                                                  ั
               อาจจะพบ stress urinary incontinence (ภาวะปสสาวะเล็ดเมื่อไอจาม) รวมกบ OAB ในเพศ
                                                                       ั
                                                                           ํ
                                                                                ิ
               หญงไดดวย แนวทางการรักษาเนนการปรับพฤติกรรม ควบคุมปจจยที่ทาใหเกดอาการ และฝก
                  ิ
               ควบคุมการกลั้นปสสาวะ หากมีอาการอาจบรรเทาอาการดวยยา จะพิจารณาการผาตัดหรือการ
               จี้ดวยกระแสไฟฟา (Peripheral tibial nerve stimulation, PTNS) ในกรณีใชยาไมไดผล ซึ่งก็
                              
                                              ้
               อาจกลับมาเปนซาไดอก และวธการนมีราคาแพงและมีผลขางเคียงเชนกัน
                                              ี
                                         ี
                                 
                             ํ
                                  ี
                                        ิ
                           
                              ้








                                                   ~ 146 ~
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172