Page 122 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 122

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                                                   Prazosin

                                           
                       กลไกการออกฤทธิ์ เปน reversible  -adrenoceptor blocking agent มีผลตอ
                                                          1
                -adrenoceptors นอยมาก ใชเปนยาลดความดันโลหิต ไมคอยมี reflex ที่ทําใหหัวใจเตนเร็ว
                 2
               เหมือนกลุม non-selective alpha blockers

                       เภสัชจลนศาสตร ยาถูกดูดซึมไดดีหลังรับประทาน ไดระดับยาสูงสุดใน plasma ใน 1-
                                          ี
                           ั
                                                                                             ํ
               3 ชั่วโมง จับกบโปรตีนไดดี มีเพยง 5% ที่อยูในรูปอสระ มี first-pass metabolism ในตับ ทา
                                                           ิ
                                              
               ใหยาเกือบทั้งหมดที่รับประทานเขาไปถูกทาลายที่ตับกอนออกฤทธิ์ มีเพยงเล็กนอยไมถูก
                                                                               ี
                                                      ํ
                                                                                            
               เปลี่ยนแปลง และขับออกทางปสสาวะ half-life 3 ชั่วโมง แตฤทธิ์ในการลดความดันโลหิต 4-6
               ชั่วโมง ผูที่มีภาวะหัวใจลมเหลวจะมีระดับยาในเลือดสูง เนื่องจากลด first-pass metabolism
               ที่ตับ เพราะมีเลือดไปเลี้ยงที่ตับนอยลง ทําใหยาไมถูกทําลาย
                       ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ทําใหความดันโลหิตลดลง
                       ประโยชนทางคลินิก

                       1.  ใชลดความดันโลหิต

                                                   ิ่
                                                                               ื่
                                                                   ี
                                                                                      
                       2.  ใชในรายที่ช็อก (หลังจากที่เพมปริมาณน้ําเลือดเพยงพอแลว) เพอชวยใหเนื้อเยื่อที่
               สําคัญไดรับเลือดไปเลี้ยงเพียงพอ

                      3.1.2   Beta-adrenergic blocking agents (beta blockers) ออกฤทธิ์ยับยั้งที่   -
               adrenoceptors  สามารถจัดแบงเปนกลุม ไดตามคุณสมบัติที่จับกับ -adrenoceptors แบงเปน

                              -    Non-selective  beta-adrenergic  blocking  agents  ไดแก

               propranolol, pindolol, nadolol, timolol ยาสามารถขัดขวางไดทั้ง 1-adrenoceptors ที่

               หัวใจ และ 2-adrenoceptors ที่อวัยวะอื่น (เชน ที่หลอดลม) แตเนื่องจากฤทธิ์ในการขัดขวาง

               2-adrenoceptors  ที่หลอดลม  ทําใหเกิดอาการหลอดลมหดตัว  มีความพยายามสังเคราะหสาร

               ขึ้นมาใหมใหออกฤทธิ์ขัดขวางเฉพาะ  1-adrenoceptors  ที่หัวใจ  ไดแก  ยาในกลุม  cardio-

               selective adrenergic blocking agents








                                                   ~ 102 ~
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127