Page 75 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 75

ู
                  โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 63 | 63
                                                  ์
                     โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
                                                                       ้
                                                        ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
                                                          ้
                                                          ื

 2.2  แนวทางการรักษาโรคเบาหวาน   4) ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่มข้อห้ามในการใช้ยา ควรเริ่มด้วย monotherapy metformin หรือ
                                     ี
              สามารถใช้ยากลุ่ม sulfonylureas รุ่นที่ 2 เช่น glibenclamide หรือ glipizide หลังเริ่มได้รับ
 ็
 ั
 ู
 ้
 ั
 ้
 ในการรกษาผปวยโรคเบาหวานและเปาหมายการรกษา จ้าเปนต้องพิจารณาเปน  ยา 1 เดือน ควรนัดผู้ป่วยเพื่อติดตามระดับ FPG
 ่
 ็
 รายบุคคล ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันในบางส่วน แต่มีแนวทางการรักษาไปในทิศทางเดียวกัน
 ื่
 เพอให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วย ในประเทศไทย ข้อมูลจากแนวทางเวชปฏิบัติส้าหรับ  5) หลังได้รับการรักษาด้วย monotherapy แล้วระดับน้้าตาลในเลือดทั้ง FPG และ
 โรคเบาหวาน ปี พ.ศ. 2560  ได้มีค้าแนะน้า ขั้นตอนการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (รูปที่ 2-  HbA1C ไม่อยู่ในเกณฑ์ปกติ ควรพิจารณาใช้ยาที่มีกลไกการออกฤทธิ์ที่แตกต่างกันร่วมด้วยเป็น
 8)           แบบ combination therapy อาจจ้าเป็นต้องใช้ยา 2 หรือ 3 ชนิดร่วมกัน โดยมีหลักการดังนี้
                  ▪  Thiazolidinediones สามารถให้เป็นยาชนิดที่ 2 ร่วมกับ metformin ในผู้ที่มีความ
 1) เริ่มต้นการรักษาด้วยการไม่ใช้ยา (non-pharmacological treatment) ได้แก่ การ  เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า หรือ อาจใช้ร่วมกับอนซูลิน แต่ต้องใช้ในขนาดต่้า และ
                                                                ิ
 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ (lifestyle modification) การควบคุมการรบประทาน  ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติหัวใจล้มเหลว
 ั
 ั
 ั
 ้
 ้
 ่
 ี
 ้
 อาหารทงประเภทอาหารและปริมาณทรับประทาน เน้นดานโภชนาบ้าบัดและออกกาลงกาย   ▪  Repaglinide พิจารณาเลือกใช้เป็นยาชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 แทน sulfonylureas ใน
 ยกเว้น ในกรณีที่ผู้ป่วยมีค่า FPG > 200 มก./ดล. หรือ HbA1C > 8% หรือมีอาการและอาการ  กรณีที่ผู้ป่วยรับประทานอาหารและมีกิจวัตรประจ้าวันไม่เป็นเวลา และมีความเสี่ยงต่อการเกิด
 แสดงของภาวะระดับน้้าตาลในเลือดสูงชัดเจน เช่น ปัสสาวะบ่อยและปริมาณมาก กระหายน้้า   ภาวะนาตาลในเลอดต้า แต่จะไมใช้รวมกบ sulfonylureas เนื่องจากมีกลไกการออกฤทธิ์
                              ื
                                  ่
                    ้
                    ้
                                                  ั
                                              ่
                                           ่
 ั
 ิ
 ่
 ้
 รับประทานอาหารจุแตน้าหนักลดไมทราบสาเหตุ ควรเรมได้รบยาลดระดับนาตาลในเลอด  คล้ายกัน
 ื
 ้
 ่
 ่
 ้
 พร้อมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการด้าเนินชีวิต
                  ▪  -glucosidase inhibitors พิจารณาเลือกใช้เป็นยาชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ในกรณีที่
 2) ให้สุขศึกษาเน้นให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ป่วยในเนื้อหาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ  ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดหลังอาหารได้
 โรคเบาหวาน ประกอบด้วย โภชนบ้าบัด การออกก้าลังกาย ยารักษาโรคเบาหวาน การตรวจวัด  ▪  DPP-4 inhibitors พิจารณาเลือกใช้เป็นยาชนิดที่ 2 หรือ ชนิดที่ 3 ในกรณีที่สามารถ
 ื
 ระดับนาตาลในเลอดด้วยตนเองและการแปลผล ภาวะนาตาลต้าหรอสงและวิธีปองกนแกไข   ใช้ยาชนิดอื่นได้ นิยมให้ร่วมกบ metformin และ/หรือ thiazolidinediones
                                      ั
 ้
 ั
 ้
 ้
 ้
 ้
 ่
 ู
 ้
 ื
 ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน การดูแลช่องปากและการดูแลรักษาเท้า นอกจากนี้ควรสร้าง  ▪  GLP-1 agonists พิจารณาเลือกใช้เป็นยาชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ในกรณีที่ผู้ป่วยอ้วน
                                   2
 ทักษะเพอการดูแลโรคเบาหวานดวยตนเอง และการช่วยเหลือสนับสนุนให้ดแลตนเอง ซึ่งเป็น  ดัชนีมวลกาย ≥30 กก./ม.  และไม่สามารถใช้ยาอื่นได้
 ื่
 ู
 ้
 ปจจยสาคญในการบรรลเปาหมายของการรกษา รวมถงการดูแลสขภาพทางรางกายและจตใจ
 ้
 ั
 ุ
 ั
 ึ
 ิ
 ุ
 ั
 ่
 ั
 ้
                                                                                       ่
 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อส่งเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว   6) มีการตั้งเป้าหมายในการรักษาที่ชัดเจน  โดยควบคุมระดับน้้าตาลในเลือด  ได้แก  FPG
              70-130 มก./ดล., HbA1C < 7.0%, ระดับน้้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชม. < 180 มก./ดล.
 3) หลักในการเลือกใช้ยาจ้าเป็นต้องพิจารณาเป็นรายบุคคล  ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยของผู้ป่วย  เป็นต้น ในการปรับการรักษาควรพิจารณาทุก 3 เดือน โดยประเมินจาก HbA1C ทุก 3 เดือน
 เป็นส้าคัญ  ได้แก่  ระดับน้้าตาลในเลือดสามารถพิจารณาได้จากค่า  FPG  หรือ  HbA1C  ความ  เป็นหลัก ถ้าค่า HbA1C ได้ตามเป้าหมายแล้วสามารถตรวจห่างทุก 6 เดือนได้
 เร่งด่วนในการลดระดับน้้าตาลในเลือด อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อนที่
 ปรากฏ สภาวะหรือโรคร่วมอื่น ๆ ที่เป็นปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ อายุ ความอ้วน การท้างานของตับ
 และการท้างานของไต   ประวัติโรคหัวใจวายและควาเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า
 เป็นต้น
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80