Page 80 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 80

68 | เบญจมาศ คุชน ี                                                                                            โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 69
                                                                                                                                                              ื
                                                                                                                                                                            ้
                                                                                                                                                      ์
                                                                                                                                                              ้

                  การควบคุมอาหาร

                                        ี
                  การควบคุมอาหารไม่ใช่เพยงการลดปริมาณของอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน                                                         สรุปเนื้อหาและทิศทางในอนาคต
           แต่ต้องค้านึงถึงชนิดของสารอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน ควรเลือกบริโภคอาหารที่มีดัชนี                                   ในการควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดให้มีความสมดุล ต้องอาศัยฮอร์โมนที่ผลิตจาก
                                                                             ั
           น้้าตาลต่้า โดยปริมาณน้้าตาลที่รับประทานทั้งวันต้องไม่เกินร้อยละ 5 ของพลงงานรวม                             ตับอ่อน เช่น อินซูลิน กลูคากอน โซมาโตสแตติน ยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน
           (ประมาณ 3-5 ช้อนชา)  การควบคุมทั้งปริมาณและชนิดของอาหารเป็นสิ่งส้าคัญที่สุดของ                              สามารถแบ่งออกได้ตามวิธีการบริหารยา เช่น ยาฉีด (insulin, GLP-1 agonists, amylin
           ผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งสามารถช่วยให้การใช้ยาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
                                                                                                                       analog) หรือ ยารับประทานลดระดับน้้าตาลในเลือด หรือสามารถแบ่งได้ตามกลไกการ
                                        ู
                  บริโภคอาหารที่มีกากใยสง                                                                              ออกฤทธิ์ของยา

                                                                                                                                                                                        ่
                  ในแต่ละวันควรได้รับประทานอาหารที่มีใยอาหาร 14 กรัม ต่ออาหาร 1,000 กิโล                                      1.  มีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งของอินซูลิน (insulin secretagogues) ได้แก ยากลุ่ม
           แคลอร ควรเลือกรับประทานผลไมรสหวานในปริมาณที่พอเหมาะ อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง                                   sulfonylureas ยากลุ่ม glitinides
                 ี
                                        ้
           ได้แก่ เครื่องดื่มที่มีน้้าตาลเป็นส่วนประกอบ รวมทั้งน้้าผึ้ง น้้าผลไม้ และผลไม้ที่มีรสหวาน                         2.  มีฤทธิ์เพิ่มความไวในการตอบสนองต่ออินซูลิน (insulin sensitizers) ได้แก่
           จัด                                                                                                         ยากลุ่ม biguanides ยากลุ่ม thiazolidinediones

                               ่
                  ออกก าลังกายชวยลดระดับน้ าตาลในเลือด                                                                        3.  มีฤทธิ์ลดการดูดซึมกลับของน้้าตาลเข้าสู่ล้าไส้เล็ก ได้แก่ ยากลุ่ม -
                                                                                                                       glucosidase inhibitors
                  การออกก้าลังกายท้าให้ผ่อนคลาย ลดความเครียด นอกจากนี้ยังช่วยลดระดบ                                           4.  มีฤทธิ์เพมการท้างานของฮอร์โมนในทางเดินอาหารที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม
                                                                                    ั
                                                                                                                                        ิ่
           นาตาลในเลอด ลดความดันโลหิต และท้าให้ระดับไขมันในเลือดดีขึ้น ก่อนออกก้าลังกาย                                ระดับนาตาลในเลอด ได้แก ยาออกฤทธิ์คลาย incretin (เช่น GLP-1 agonists, DPP-4
                     ื
            ้
            ้
                                                                                                                                      ื
                                                                                                                             ้
                                                                                                                             ้
                                                                                                                                              ่
                                                                                                                                                            ้
           ควรประเมินสุขภาพด้วยว่ามีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจหรือไม่ ซึ่งควรเริ่มออกก้าลังกายจาก
           เบา ๆ กอน ใหชีพจรเทากบร้อยละ 50-70 ของชีพจรสูงสุด และควรออกก้าลังกาย 150                                    inhibitors) และ amylin analog
                               ่
                        ้
                  ่
                                 ั
                                                                                                                                                          ั
                                                                                                                                                                                              ่
                                                                                                                                                                                      ้
                                                                                                                                                   ่
                                                                                                                                                                                            ้
                                                                                                                                                                                          ั
                                                                                                                               ิ
                                                                                                                                                                                            ู
           นาทีต่อสัปดาห์  โดยออกก้าลังกายวันละ 30-50 นาที 3-5 วันต่อสัปดาห์                                                  ทศทางการพัฒนายาใหมในการรกษาโรคเบาหวาน โดยเฉพาะสาหรบผปวย
                                                                                                                                              ุ
                                                                                                                       โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งมีอบัติการณ์สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากวิถีการด้าเนินชีวิตใน
                                                                                                                       สงคมปัจจุบันเป็นแบบรีบเร่ง ไมไดคานึงถงโภชนาการ ไมใสใจออกก้าลังกาย หรือมี
                                                                                                                                                                           ่
                                                                                                                                                                         ่
                                                                                                                                                           ึ
                                                                                                                                                     ้
                                                                                                                                                       ้
                                                                                                                                                   ่
                                                                                                                        ั
                                                                                                                       พฤติกรรมที่เพมความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมากขึ้น ปัจจุบันมีการมุ่งเป้าหมายการรักษาโดย
                                                                                                                                   ิ่
                                                                                                                       เพ่มการขบกลโคสออกทางปสสาวะ (เช่น SGLT2 inhibitor) ยับย้งการสลายไกลโคเจน
                                                                                                                                                                              ั
                                                                                                                                   ู
                                                                                                                                               ั
                                                                                                                         ิ
                                                                                                                               ั

                                                                                                                                                                  ี
                                                                                                                       จากในตับ (glycogen phosphorylase inhibitor) อกทั้งค้นหายาที่ยับยั้งการเกิดปฏิกิริยา
                                                                                                                       ไกลเคชันซึ่งก่อให้เกิด advanced glycation end products (AGEs) น้าไปสู่ภาวะแทรก
                                                                                                                       ซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ซึ่งหากรุนแรงอาจน้าไปสู่การเสียชีวิตได้
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85