Page 143 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 143

ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 131
                 โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 131
                                                                      ู
                                                                      ้
                    โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
                                                 ์
                                                         ้

                       บทที่ 5 บทสรุปและทิศทางการวิจัยในอนาคต
                          เกี่ยวกับการพัฒนายาจากผักพื้นบ้านต้าน


                                             โรคเบาหวาน








                  5.1  สรุปสถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทย และทิศทางการ

                        พัฒนายาจากผักพนบานต้านเบาหวาน
                                               ้
                                           ื้
                         จากข้อมูลการส้ารวจสุขภาพของประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 (ปี
                                 (1)
                  พ.ศ. 2562-2563)  พบว่าโรคเบาหวานซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทางเมแทบอลิซึม ใน
                  ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความชุกสูงขึ้นจาก ร้อยละ 6.9 ในปี พ.ศ. 2552 เพมเป็น
                                                                                       ิ่
                                         (2)
                  ร้อยละ 8.9 ในปี พ.ศ. 2557  และปีล่าสุด พ.ศ. 2562 เพิ่มเป็นร้อยละ 9.5 ซึ่งคาดการณ์
                                                                                       ั
                             ้
                  ได้ว่าในการสารวจสุขภาพของประชาชนไทยในปถดไป คดเปนรอยละมากกว่า 10 ปญหา
                                                                      ้
                                                          ี
                                                                    ็
                                                                 ิ
                                                           ั
                  ด้านสาธารณสุข คือ เมื่อผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานได้ระยะเวลาหนึ่งจะเกิดภาวะแทรกซ้อน
                                                                 ้
                  ต่าง ๆ เช่น ความผดปกติของจอตา ความผดปกติของเสนประสาท ภาวะไตผดปกติจาก
                                                      ิ
                                  ิ
                                                                                   ิ
                                                                                 (3-5)
                  โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เป็นต้น  ซึ่งท้าให้
                  คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยแย่ลง ดังนั้นการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานจึงเป็นทางเลือกที่ดีใน
                  การลดความชุก และความเสี่ยงการเกิดโรคแทรกซ้อน ถึงแม้ว่านักวิทยาศาสตร์และนักวิจัย
                           ั
                  จะมีการพฒนายาใหม่ส้าหรับรักษาโรคเบาหวาน แต่ยาเหล่านั้นก็สามารถลดโรคแทรก
                  ซ้อนได้ไม่ดีพอ จึงมองว่าการรักษาโรคเบาหวานไม่ใช่การแก้ปัญหาทางสาธารณสุข แต่การ
                                                 ั
                  ป้องกันโรคเป็นทางเลือกที่ดีกว่าป้องกนโรคแทรกซ้อนจากการป่วยด้วยโรคเบาหวาน ผู้ที่มี
                  ความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสูงจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดสูง
                                                                    ื
                                                                                     ื
                                                                       ิ
                                                 ิ
                               ั
                                                   ู
                  ด้วยเช่นเดียวกน เช่น ความดันโลหตสง ระดับไขมนในเลอดผดปกติ หลอดเลอดแดง
                                                              ั
                              (6)
                  แข็งตัว เป็นต้น
                         ด้วยเหตุนี้ท้าให้กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายเร่งด้าเนินการ   เพื่อลดจ้านวน
                  ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่  โดยมีการตรวจคัดกรองเพอประเมินความเสี่ยงและดูแลผู้ป่วย
                                                               ื่
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148