Page 93 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 93

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                                                แนวคิดรวบยอด


                   ระบบประสาทซิมพาเทติก จะควบคุมการทํางานของรางกายในการกระตุนใหตอสู ในภาวะ

                                                                               ิ
               ตกใจและตองการใชพลังงาน สารที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทและชักนําใหเกดผลทางสรีรวิทยา
                                                                             ่
                                                                             ิ
                                          ั
               แบงได 2 ลักษณะเชนเดียวกนกบระบบประสาทพาราซิมพาเทติก คือ เพมกระแสประสาท ที่
                                        ั
               เสมือนการกระตุนระบบประสาทซิมพาเทติก ซึ่งเรียกสารนี้วา sympathomimetic drugs
                                                                    
               หรือ adrenergic drugs หรือ adrenomimetic drugs โดยมีกลไก (1) ออกฤทธิ์เปน agonist
               กระตุนโดยตรงตอรีเซ็พเตอร (direct sympathomimetic) เชน NE, Epi, -adrenoceptor

               agonists, -adrenoceptor agonists เปนตน (2) เพิ่มการหลั่งของสารสื่อประสาท โดยการชัก

               นําใหมีการปลดปลอยสารสื่อประสาท NE จาก vesicle ที่ปลายประสาท (indirect
                     
               sympathomimetic) เชน amphetamine ยับยั้งการ reuptake ของสารสื่อประสาทกลับปลาย
                                                                     
               ประสาท เชน cocaine, tricyclic antidepressants (TCA) เปนตน (3) มีฤทธิ์ทั้งสองแบบ
                                                                                           ั
               (mixed sympathomimetic) เชน dopamine, ephedrine เปนตน ยาอีกกลุมคือยาที่ยบยั้ง
                                                  ั้
                                         ื
               ผลของกระแสประสาท ที่เสมอนการยับยงการกระตุนระบบประสาทซิมพาเทติก เรียกสารนี้วา
               sympatholytic agents หรือ adrenergic blocking drugs หรือ anti-adrenergic drugs
               หรือ sympathoplegic drugs โดยมีกลไก (1) กระตุนตอ presynaptic receptor ยับยงการ
                                                                                          ั้
               หลั่งสารสื่อประสาท (centrally adrenergic blocking Agent) เชน   agonist เปนตน (2)
                                                                            2
               เปน antagonist ตอรีเซ็พเตอร (postsynaptic adrenoceptor blocking agents) โดยตรง

               เชน alpha blockers หรือ beta blockers เปนตน (3) ยบยงตอปมประสาท (ganglion
                                                                  ั
                                                                     ั้
                                                       ั
               blocking agents) เชน ganglion blockers ยบยั้ง nicotinic receptor ที่ปมประสาทซึ่งจะ
               ใหผลยับยั้งทงระบบประสาทซิมพาเทติกและพาราซิมพาเทติก เปนตน (4) ยับยั้งการสังเคราะห
                          ั้
               สารสื่อประสาทและการสะสมสารสื่อประสาทใน vesicle (peripheral presynaptic anti-
               adrenergics) เชน reserpine เปนตน

                   จะเห็นไดวาสารที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทซิมพาเทติกมีหลายกลุม และมกลไกการออก
                                                                                   ี
               ฤทธิ์แตกตางกันไป เพื่อความเขาใจในบทนี้จะไดกลาวถึงรายละเอียดแตละกลุม โดยแยกเปนสอง
               สวนใหญ ๆ คือ กลุม sympathomimetic agents และกลุม sympatholytic agents และ

               แบงกลุมยอยที่แตกตางออกไปเพองายตอการทําความเขาใจ
                                          ื่

                                                    ~ 72 ~
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98