Page 98 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 98

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                 2.1 สารกลุมกระตุนโดยตรงตอ adrenergic receptor (Direct sympathomimetic:
               catecholamines หรือ Adrenergic receptor agonists) เชน catecholamines ซึ่งจะออก

               ฤทธิ์โดยตรงตอรีเซ็พเตอรบน effector cellls

                       ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสาร  คือผลจากการไดรับสารกลุม  catecholamines  ซึ่งจะ
               เกิดผลตอรางกายเสมือนกับการกระตุนระบบประสาทซิมพาเทติก        สามารถแบงผลจาก

               catecholamines ไดเปน 2 ประเภท คือ

                      1.  ผลที่เกิดจากการกระตุน  -adrenoceptor  ซึ่งไดแก    หลอดเลือดหดตัว
               (vasoconstriction), ลําไสคลายตัว (intestinal relaxation), รูมานตาขยาย (pupil dilation),

               ขนลุก (pilomotor contraction) เปนตน

                      2.  ผลที่เกิดจากการกระตุน  -adrenoceptor  ซึ่งไดแก  หลอดเลือดคลายตัว

               (vasodilatation), การกระตุนหัวใจ (cardiac stimulation), หลอดเลือดของลําไสและหลอดลม
               คลายตัว (relaxation of non-vascular smooth muscle of gut and bronchiole), ผลตอ

               เมแทบอลิซึม (metabolic effects) เชน glycogenolysis เปนตน


                                            ี่
                   ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา (ตารางท 3.2)
                   ผลตอระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular effect)
                              - ผลตอหลอดเลือด (blood vessel)

                              หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงผิวหนัง เยื่อเมือก (mucosa) และอวัยวะภายใน มีรีเซ็พ

                       เตอรเปนชนิด  ซึ่งจะตอบสนองการกระตุนเกดการบีบตัวทําใหหลอดเลือดหดตัว
                                                                               
                                                                ิ
                       สวนหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกลามเนื้อลายจะมีรีเซ็พเตอรทั้ง , M และ  ซึ่ง -
                       adrenoceptor จะตอบสนองตอการกระตุนและเกิดการคลายตัวของหลอดเลือด

                              NE กระตุน -adrenoceptor เปนสวนใหญจึงมีผลทําใหหลอดเลือดทุกแหง

                                             
                       เกิดการหด ในทางตรงกันขาม isoproterenol (ISO) ซึ่งกระตุน -adrenoceptor จะ
                       ทําใหเกิดหลอดเลือดคลายตัว สวน epinephrine (Epi) นั้น มีผล 2 อยาง คือ ทําให

                                                                    ิ
                       หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงผิวหนังและ splanchnic area เกดการหดตัว ซึ่งที่หดตัวมากที่สุด
                                                                                  ั้
                       คือ อวัยวะภายใน หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกลามเนื้อลายนั้นปกติมีทง  และ -



                                                    ~ 77 ~
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103