Page 88 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 88

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


               4.  สารที่ออกฤทธิ์ตอปมประสาท (agents affecting on autonomic ganglia)

                 ยานี้จะมีผลทั้งตอระบบประสาทพาราซิมพาเทติก และซิมพาเทติก เนื่องจากที่บริเวณปม
                                                                                         ั
               ประสาทของระบบประสาททั้งสองมี ACh เปนสารสื่อประสาทที่สําคัญ ผลที่เกิดจึงคลายกน เรา
               สามารถแบงสารกลุมนี้เปน 2 กลุม คือ กลุมกระตุนปมประสาท (ganglionic stimulating
               agents) และกลุมที่ยับยั้งปมประสาท (ganglionic blocking agents)

                   4.1  กลุมกระตุนปมประสาท (ganglionic stimulating agents)

                       เชน  nicotine,  choline  esters,  dimethylphenyepiperazinium  (DMPP),
               tetramethylammonium (TMA) เปนตน จะทําใหเกิด ganglionic depolarization อยางไรก ็

               ตามยากลุมนี้มักจะไมนํามาใชประโยชนทางคลินิก แตมักใชในการทดลองและวิจัย
                   4.2 กลุมที่ยับยั้งปมประสาท (ganglionic blocking agents) แบงเปน 3 กลุม คือ

                       4.2.1   ยาที่ปองกันฤทธิ์ของ  ACh  ที่ทําใหเกิด  depolarization  ตัวอยางสาร  เชน

                                                        ®
                       hexamethonium chloride (Esomid ), tetraethylammonium chloride (TEA),
                                                             ®
                       phenacylhomatropinium  (Trophenium ),  pentacynium,  trimethaphan
                                                 ®
                       camphorsulfonate (Arfonad ), mecamylamine hydrochloride (Inversine ),
                                                                                            ®
                                            ®
                       pempidine (Perolysen ) เปนตน สารกลุมนี้จะมีผลยับยั้งทั้งระบบประสาทพาราซิม
                       พาเทติก  และซิมพาเทติก  โดยรวมมีผลทําใหกลามเนื้อเรียบของหลอดเลือดคลายตัว

                       เกิด vasodilatation และ total peripheral resistant (TPR) ลดลง ทําใหความดัน

                       โลหิตลดลง อัตราการเตนของหัวใจเร็วขึ้น ลดการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร ลดการ
                       คัดหลั่งสาร อาจเกิดทองผูก แตไมมีผลตอ CNS นอกจากนี้สารกลุมนี้ยังทําใหปสสาวะ

                       ลําบาก มานตาขยาย ปากแหง เหงื่อออกนอยลง
                              ประโยชนทสําคัญที่นํามาใชทางคลินิกของสารกลุมนี้ คือ ชวยลด
                                         ี่
                       sympathetic influence ที่มีตอ CVS ซึ่งปจจุบันใชยานี้นอยลง เชน ใชรักษาโรคความ
                             ิ
                       ดันโลหตสูงที่ไมทราบสาเหตุ (essential hypertension) และใชรักษาโรคความดัน
                       โลหิตสูงที่เกิดจากหัวใจและหลอดเลือดผิดปกติ (hypertensive cardiovascular

                       disease) อาจใชควบคุมความดันโลหิตขณะดมยาสลบ แตยานี้ไมควรใหในผูปวย
                                                                              ิ
                       angina pectoris เพราะอาการจะรุนแรงขึ้นเนื่องจากความดันโลหตลดลง และไมควร
                       ใชยานี้รวมกับยาลดความดันโลหิตอื่น



                                                    ~ 67 ~
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93