Page 87 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 87

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


               ผลขางเคียงของ antimuscarinic agents

                                                                                             ิ
                 ที่พบโดยทั่วไปคือ ปากแหง กระหายน้ํา กลืนลําบาก ตาพรามัว (blurred vision) อาจเกด
                                                                         ิ
                                                                            ิ
               urinary retention ในคนชรา มึนงง ปวดศีรษะ ในขนาดสูง ๆ จะเกดพษตาง ๆ  คือ มานตา
               ขยาย หัวใจเตนเร็วแรง ทองผูกเนื่องจากระบบทางเดินอาหารทํางานนอยลง ปสสาวะคั่ง ตาพรา
               ผิวหนังแหงและรอน มีไข กระวนกระวาย อาจมีประสาทหลอน การรักษาอาการพิษอาจชวยโดย

                                           
               การรักษาตามอาการหรืออาจใหยา diazepam ชวยทําใหสงบระงับ antidote ของ atropine
               ไดแก physostigmine, neostigmine

               ขอควรระวังและหามใช

                   ไมควรใชยากลุมนี้ในผูปวยตอหิน ผูที่มีกระเพาะอาหารหรือทกระเพาะปสสาวะมีการคั่งคาง
               (gastric and urinary retention) ผูปวยตอมลูกหมากโต เปนตน


               ตารางที่ 2.4 การประยกตใชทางคลินิกของยากลุม muscarinic antagonists (ดัดแปลงจาก
                                   ุ
               Katzung & Vanderah, 2021)
                     อวยวะ                ผลของยา                  การประยุกตใชทางคลินิก
                        ั
                ระบบประสาท        ลดอาการเมารถเมาเรือ       เมารถเมาเรือ

                สวนกลาง          (Motion sickness)         โรคพารกินสัน
                                  ลด Extrapyramidal

                                  effect

                ตา                กลามเนื้อเรียบยึดเลนสตา  การมองเห็นผิดปกติในทารก (refraction in
                                  หยอน (Cycloplegia)       infants) ตรวจเรตินา ลดการเกาะติด

                                  Mydriasis                 (adhesions)
                ระบบทางเดิน       ลด secretion              โรคกระเพาะอาหารที่มีภาวะกรดหลั่งมาก

                อาหาร             ลด motility               (acid-peptic disease) ภาวะน้ําลายออก

                                                            มาก ภาวะหดเกร็งชั่วคราว หรือทองเสีย
                ระบบสืบพันธุและ  ลด bladder wall tone      ภาวะหดเกร็งชั่วคราว หรือกระเพาะ

                ขับถายปสสาวะ                              ปสสาวะบีบตัวไวเกิน
                หลอดลม            คลายตัว                   โรคหืด


                                                    ~ 66 ~
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92