Page 51 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 51
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
5.2 หนาที่ที่สําคัญ และการทํางานของ ANS :
ANS จะควบคุมการทํางานของกลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อหัวใจ และตอมตาง ๆ ดังนั้น
ANS จึงมีความสําคัญในการควบคุมการทํางานของรางกายทั้งในสภาวะพักหรือภาวะปกติและ
ื่
สภาวะที่ตองตอสู เพอใหเกิดภาวะสมดุลของรางกาย (homeostasis) โดยสรุปมีหนาที่ ดังนี้
- ควบคุมการทํางานของหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular function)
- ควบคุมการยอยอาหาร (digestion)
- ควบคุมอณหภูมิของรางกาย (thermoregulation)
ุ
- ควบคุมกระบวนการเผาผลาญอาหารของรางกาย (metabolism)
- ควบคุมการคัดหลั่งของสารของตอมมีทอตาง ๆ (secretion of exocrine glands)
ANS ซึ่งแบงออกเปน 2 ระบบใหญ ๆ คือ ระบบประสาทซิมพาเทติก และระบบ
ประสาทพาราซิมพาเทติก ทั้ง 2 ระบบนี้จะออกฤทธิ์ตรงขามกันหรือหักลางกันเองในเกือบทุก
ระบบของรางกาย โดยระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะควบคุมการทํางานของรางกายเมื่ออยู
ในสภาวะปกติ เพื่อสงวน สะสม และสรางพลังงาน (เกิดกระบวนการ anabolism) สวนระบบ
ประสาทซิมพาเทติกมีผลตอรางกายในการกระตุนใหตอสูหรือหลีกหนี ในภาวะตกใจ ตื่นเตน
โกรธ และตองการใชพลังงาน (เกิดกระบวนการ catabolism) ทั้งสองระบบจะทํางานควบคูกัน
เพื่อรักษาสมดุลของรางกาย
ในภาวะปกติ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ
โดยเฉพาะกระตุนการยอยอาหาร เพิ่มการบีบตัวของลําไส เพิ่มการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
ควบคุมการดูดซึมสารอาหาร ควบคุมการขับถาย เปนตน สวนในระบบประสาทซิมพาเทติกจะ
ควบคุมการทํางานของรางกายไดเดนชัดในภาวะคับขัน ตกใจ โดยสรุปคือจะเพิ่มอัตราการเตน
และแรงบีบตัวของหัวใจ หลอดเลือดที่เลี้ยงกลามเนื้อลายขยายตัว หลอดลมขยาย ทั้งนี้เพื่อเพิ่ม
ออกซิเจนไปเลี้ยงกลามเนื้อลาย ขณะที่หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะที่ไมสําคัญจะหดตัว มานตา
จะขยายเพื่อเพิ่มการรับแสง ที่ผิวหนังและอวัยวะภายในหลอดเลือดขยายมีเลือดไปเลี้ยงที่
ผิวหนังและอวัยวะภายในมากขึ้น ในขณะที่จะลดบทบาทของระบบการยอยอาหารและขับถาย
ลง การใหสารไปกระตุนโดยตรงที่รีเซ็พเตอร (direct action) จะไดผลดังตารางที่ 1.4 และ 1.5
ื่
และรางกายอาจมีการปรับเปลี่ยนการทํางานอนตามมาไดเชนกัน เพื่อรักษาภาวะสมดุลของ
รางกาย (homeostasis) เอาไว
~ 30 ~