Page 50 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 50
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
- ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (ภาพที่ 1.9)
ู
่
preganglionic neuron อยบริเวณกานสมอง (เสนประสาทสมองคูท 3, 7,
ี
่
ิ
ั
ิ
9 และ 10) และบรเวณกระดูกสนหลังบรเวณ sacral คูที 2-4 ทจะสงแขนง
่
ี
ประสาทออกรวมมากับเสนประสาทไขสันหลัง (craniosacral division)
preganglionic neuron ของระบบประสาทซิมพาเทติกจะยาวกวา
postganglionic neuron ดังนั้นปมประสาทของระบบประสาทนี้จึงอยูใกล
อวัยวะเปาหมาย
preganglionic neuron สามารถ synapse กับเสนประสาท
postganglionic neuron ในอัตราสวน 1 ตอ 1 แสดงวามีความเจาะจงมากใน
การควบคุมอวัยวะนั้น
preganglionic neuron ของทั้งระบบประสาทพาราซิมพาเทติกและซิม
พาเทติกจะหลั่งสารสื่อประสาท ACh ในบริเวณปมประสาท สวน
postganglionic neuron ของระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะหลั่งสารสื่อ
ประสาท คือ ACh แตสําหรับระบบประสาทซิมพาเทติกจะหลั่งสารสื่อ NE
ยกเวนบางแหงที่ปลายประสาทซิมพาเทติกจะหลั่งสารสื่อประสาท ACh คือ
บริเวณตอมเหงื่อ หลอดเลือดในกลามเนื้อลาย และหลั่งสารสื่อประสาท DA ที่
บริเวณไต
- ระบบประสาทซิมพาเทติก (ภาพที่ 1.9)
preganglionic neuron อยูบริเวณกระดูกสันหลังบริเวณ thoracic คูที่ 1
ถึง lumbar คูที่ 3 และจะสงแขนงประสาทออกรวมมากับเสนประสาทไขสัน
หลังเชนกัน (thoracolumbar division)
preganglionic neuron ของระบบประสาทซิมพาเทติกจะสั้นกวา
postganglionic neuron ดังนั้น ปมประสาทสวนใหญจึงอยูใกลแนวของ
spinal cord
preganglionic neuron 1 เสน อาจสามารถ synapse กับเสนประสาท
postganglionic neuron เปนจํานวนมาก (63-196 เสน) จึงสามารถควบคุม
การทํางานของอวัยวะหลายอวัยวะในเวลาเดียวกัน
~ 29 ~