Page 49 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 49

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


               ตารางที่ 1.3  ผลการกระตุนรีเซ็พเตอรบนอวัยวะเปาหมายของระบบประสาทซิมพาเทติกและ
               พาราซิมพาเทติก (ดัดแปลงจาก Katzung & Vanderah, 2021) (ตอ)

                                                                               ่
               4   การกระตน muscarinic receptor จะทําให endothelium cells ของหลอดเลือดสวนใหญหลัง EDRF
                       ุ
                                                      ุ
                                                
                                              ึ
                                              ่
               (endothelium-derived relaxing factor) ซงเปนสาเหตใหหลอดเลือดขยาย (ในระบบประสาทพาราซิมพาเทตกจะม ี
                                                                                        ิ
                                                       
                                ่
                  
                         ื
                                ี
                                                                        ่
                                                                     ิ
                                  ั
                                                                          
               ผลตอหลอดเลอดเฉพาะทอวยวะภายในและสมอง ในขณะที่ระบบประสาทซิมพาเทตก ทีเปน sympathetic cholinergic
                                    
                                                                 ่
                                                                 ี
                                              
                                        ้
                                        ื
                                ื
               fiber จะมผลกับหลอดเลอดทกลามเนอลาย) สวน muscarinic receptor ทพบในหลอดเลือดอน ๆ ของระบบไหลเวยน
                                                                             ื
                                   ่
                                                                                           ี
                      ี
                                   ี
                                                                             ่
                                    ั
                                                ี
               โลหตสวนปลายจะไมเกียวของกบการหลง EDRF น แตจะสามารถตอบสนองกับ muscarinic agonists จากภายนอกท่เขา 
                                                                                            ี
                                          ั
                                          ่
                                                ้
                              ่
                             
                                 
                  ิ
                          ิ
               มาในกระแสโลหตได  
                                                                       ้
                                            
                                                        6
               5   cerebral blood vessels ขยายเมอกระตน M 5 receptor,   อาจเกิดจากการยับยังท presynaptic neuron ของระบบ
                                            ุ
                                        ื
                                        ่
                                                                         ี
                                                                         ่
               ประสาทพาราซิมพาเทติก
               7  cholinergic neuron ที่ไปยังทวารหนักและอวัยวะในระบบสืบพันธุและขับถายปสสาวะ อาจเปนกายวิภาคในระบบประสาท
               ซิมพาเทติก (sympathetic sacral outflow)

               5.  โครงสรางพื้นฐาน หนาที่ที่สําคัญ และการทํางานของ ANS
                   5.1   โครงสรางพื้นฐาน :
                       ดังที่กลาวมาแลวขางตนวาระบบประสาทสวนปลายขาออกจะแบงไดเปน 2 สวน คือ
               ระบบประสาทโซมาติกและระบบประสาทอัตโนมัติ
                       5.1.1.   ระบบประสาทโซมาติก (Somatic Nervous System; SNS)
                                             ํ
                              จะควบคุมการทางานของกลามเนื้อลาย (skeletal muscle) และพบวา
                                                        
               เสนประสาทที่มาจาก CNS จะมาเลี้ยงกลามเนื้อลายโดยตรง ระบบประสาทนี้จะมีเฉพาะเซลล
               ประสาทกอนปมประสาท (preganglionic neuron) ไมมีปมประสาท (ganglion) และไมมีเซลล
               ประสาทหลังปมประสาท (postganglionic neuron) สารสื่อประสาทที่เกี่ยวของ คือ
               Acetylcholine (ACh) จะกลาวถึงโดยละเอียดในบทตอ ๆ ไป
                       5.1.2   ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System; ANS)
                              จะควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ  คือ กลามเนื้อเรียบ หัวใจ และตอม
               ตาง ๆ จะมีเซลลประสาทรับคําสั่งจาก CNS คือ preganglionic neuron ซึ่งจะสง axon ไปยง ั
               เซลลตัวที่สอง (postganglionic neuron) ซึ่งอยูนอกระบบประสาท CNS โดยผานการหลั่งสาร
               สื่อประสาทบริเวณปมประสาท  ANS แบงเปน 2 ระบบ คือ  ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
               และระบบประสาทซิมพาเทติก

                                                    ~ 28 ~
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54