Page 44 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 44

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                                                                          ิ่
               (apocrine) เปนตน การศึกษาในปจจุบันพบชนิดยอยของรีเซ็พเตอรเพมเติมแบงเปน 1A,  1B,
                                                          ี่
               1D เปนตน พบที่นบริเวณแตกตางกน 1B พบไดท vascular smooth muscle ในขณะที่ 1A
                                              ั
               พบที่ทางเดินปสสาวะ

                               -adrenoceptor พบมากที่สวนปลายประสาทของ presynaptic
                                2
               adrenergic neurons และพบที่เกล็ดเลือด เซลลไขมัน กลามเนื้อเรียบ ตับออน การศึกษาใน
                                                                                
                               
                                                 ิ่
                                                           ั
               ปจจุบันพบชนิดยอยของรีเซ็พเตอรเพมเติมเชนกน แบงเปน (2A,  2B, 2C) พบที่นบริเวณ
               แตกตางกัน ชนิด 2B พบไดที่ vascular smooth muscle ในขณะที่ 2A และ 2C พบไดใน CNS
               และ neurons ซึ่งยังตองการขอมูลเพิ่มเติม

                              -  Beta  adrenoceptors  ()  :  -adrenoceptor  ส ว น ใ ห ญ อ ยู ใ น

               peripheral tissues ทั่วไป แบงเปน 3 ชนิดยอย ไดแก  

                              1-adrenoceptor พบมากที่หัวใจ ดวงตา juxtaglomerular apparatus
               ของ renal tubules และยังพบไดที่สมอง   presynaptic terminal ของ adrenergic/

               cholinergic neuron และเซลลไขมัน

                              2-adrenoceptor สวนใหญพบที่กลามเนื้อเรียบตาง ๆ เชน หลอดเลือด

               หลอดลม และอาจพบที่กลามเนื้อหัวใจ ตับออน และตับ เปนตน

                              3-adrenoceptorพบมากที่ adipose tissue กระเพาะปสสาวะ และอาจ
                พบที่หัวใจ


                   4.3 การตอบสนองเมื่อถูกกระตุน (ตารางที่ 1.3)

                     รีเซ็พเตอรแตละชนิดเมื่อถูกกระตุนจะตอบสนองอยางเปนขั้นตอน โดยกลไกการกระตุน
               second messenger หรือ ion channel ตาง ๆ  นํามาซึ่งการทํางานระดับชีวโมเลกุล (ตารางท  ี่

                                                      
               1.2) แตภาพโดยรวมจะใหผลโดยยกตัวอยางพอสังเขปไดดังนี้ คือ การกระตุนที่ 2-
                                                    ู
                                                                                             ิ
               adrenoceptor (ตําแหนงของรีเซ็พเตอรอยบนเซลลประสาทที่หลั่ง NE ออกมา) มผลในเชง
                                                                                      ี
               ยบยั้ง (negative feedback) ไมใหมีการหลั่ง NE จากปลายประสาทมากเกนไป แตการกระตุน
                 ั
                                           
                                                                              ิ
                              ั
               ที่รีเซ็พเตอรที่อวยวะเปาหมาย (กระตุนที่ 1- , 1- หรือ 2-adrenoceptor ซึ่งขึ้นกับ
               กระตุนที่อวัยวะใด) จะมีผลทําใหอวัยวะตอบสนองตอสารสื่อประสาทในเชิงกระตุน สงผลเหมือน

                                                    ~ 23 ~
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49