Page 41 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 41

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                      5.4 บางสวนจะเขาไปออกฤทธิ์โดยตรงที่ recognition site บน channel protein ทํา
                                                                                             ิ
               ใหมีการเปลี่ยนการนํากระแสประสาท (conductance) โดยการเปด ion channel เกด
               postsynaptic potential response ขึ้น (ตัวอยางสารสื่อประสาทที่ออกฤทธิ์แบบนี้ มักจะเปน
                                                                                             
               สารสื่อประสาทพวกที่ไมใช peptide เชน GABA มี recognition site บน chloride channel
                                   
                                                                             ั
                           ิ
               protein จะเกดการเปด chloride channel สารสื่อประสาท ACh จับกบ recognition site
                                                                    
                                                                                       ั้
               บน nicotinic receptor ทําใหมีการเปด sodium channel เปนตน) (ภาพที่ 1.8 ในขนตอนที่
               5.4)
                      5.5 บางสวนจะทําหนาที่สื่อสารกับ postsynaptic cells โดยการจับกบรีเซ็พเตอรที่
                                                                                  ั
                         ั
                    ั
               สัมพนธกบ secondary messenger system ตาง ๆ  เชน adenylyl cyclase system,
               tyrosine kinase system หรือ phosphatidylinositol system เปนตน ซึ่งจะสงผลกระตุน
               การทํางานของ protein kinase ที่จําเพาะ เกิดผลทางชีวเคมี และสงผลใหเกดการสื่อสารกน
                                                                                 ิ
                                                                                             ั
               ของระบบตาง ๆ  ในรางกาย (ภาพที่ 1.8 ในขั้นตอนที่ 5.5)


               4.  รีเซ็พเตอรที่เกี่ยวของในระบบประสาทสวนปลาย

                                               
                   4.1  ชนิดของรีเซ็พเตอรที่เกี่ยวของในระบบประสาทสวนปลาย
                                                                              ี่
                                                                            
                     รายงานการศึกษาในเรื่องนี้พบวายังคงมีออกมาอยางตอเนื่อง เทาทมีรายงานการศึกษา
               ที่แนนอนในปจจุบัน สรุปไดวา ระบบประสาทสวนปลายมีรีเซ็พเตอร แบงไดเปน 2 กลุม คือ
               cholinergic receptors และ adrenergic receptors ซึ่งมีกลุมยอย (subtype) แบงออกไปได

               อีก
                        4.1.1 Cholinergic receptors (cholinoceptors) ไดแก

                              - Nicotinic receptors (N) : ประกอบดวย Nn, Nm

                              - Muscarinic receptors (M) : ประกอบดวย M  , M  , M , M , M
                                                                                  4
                                                                               3
                                                                                      5
                                                                          2
                                                                      1
                        4.1.2 Adrenergic receptors (adrenoceptors) ไดแก
                              - Alpha adrenoceptors () : ประกอบดวย 
                              - Beta adrenoceptors () : ประกอบดวย  และ 





                                                    ~ 20 ~
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46