Page 55 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 55

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                    5.3  เปรียบเทียบความแตกตางของระบบประสาทอัตโนมัติทั้ง 2 ระบบ
                                     ี่
                                                    ี่
                   จากรายละเอียดทกลาวมาขางตนเกยวกับ ANS  เราสามารถเปรียบเทียบความแตกตาง
               ของระบบประสาทพาราซิมพาเทติกและระบบประสาทซิมพาเทติก ในดานโครงสราง สารสื่อ
               ประสาท ชนิดรีเซ็พเตอร ใน preganglionic neuron และ postganglionic neuron (ตารางที่

               1.6) และเปรียบเทียบผลการกระตุนระบบประสาทแตละระบบ พบวา การกระตุนระบบ

               ประสาทพาราซิมพาเทติกจะทําให รูมานตาหดตัว มองภาพระยะใกลไดดี ความดันในลูกตา
                                     ิ่
               ลดลง หลอดลมหดตัว เพมสารคัดหลั่งในหลอดลม หัวใจเตนชาลง กลามเนื้อเรียบของทางเดิน
               อาหารบีบตัวมากขึ้น เพิ่มการหลั่งน้ํายอยมากขึ้น กลามเนื้อเรียบของกระเพาะปสสาวะบีบตัว

               ทําใหมีการขับถายปสสาวะ ตอมน้ําลายขับน้ําลายใสออกมา
                   การกระตุนระบบประสาทซิมพาเทติกจะทําใหรูมานตาขยายตัว มองภาพระยะไกลไดดี

               ขึ้น หลอดลมจะขยายตัว ทางเดินหายใจโลงขึ้น หายใจสะดวกขึ้น หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทํา
               ใหความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หลอดเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในหดตัวมีเลือดมาเลี้ยงที่ผิวหนัง

                     ั
                                                                                     ึ้
               และอวยวะภายในนอยลง หลอดเลือดที่กลามเนื้อลายขยายตัวมีเลือดมาเลี้ยงมากขน ตับออน
               หลั่ง glucagon และเปลี่ยนไกลโคเจนที่สะสมทตับหรือกลามเนื้อลายเปนกลูโคส
                                                             ี่
               (glycogenolysis) ทําใหระดับกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น สามารถนําไปสรางเปนพลังงานไดมากขึ้น
                                    
               กลามเนื้อเรียบของทางเดินอาหารคลายตัว (ทํางานนอยลง) กลามเนื้อเรียบกระเพาะปสสาวะ
                                                                                        
                                                                           ั
               คลายตัว (ทํางานนอยลง) ตอมหมวกไตหลั่ง epinephrine ตอมน้ําลายขบน้ําลายเหนียวออกมา
                                                          ู
                                                        
                                                                                        
               มาก ตอมเหงื่อขับเหงื่อออกมา ซึ่งเมอพิจารณาขอมลของรีเซ็พเตอรประกอบ ไดแสดงขอมูลไว
                                              ื่
               ในตารางที่ 1.7



















                                                    ~ 34 ~
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60