Page 203 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 203

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


                               ยาในเลือดต่ํากวา 10 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร จะไมไดผลในการขยายหลอดลม
                                    
                               และถาระดับยาในเลือดสูงกวา 20 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร จะเกิดพิษของยาที่
                                                           
                                   ั
                               เปนอนตราย (ดังอธิบายไวในหัวขอดานลาง) ทําใหการใชยาตองระมัดระวัง
                               มากขน นิยมทําในรูปแบบ sustained-release dosage forms ซึ่งเปนยา
                                    ึ้
                               เม็ดที่ใชรับประทาน โดยยาที่รับประทานเขาไปจะคอย ๆ ปลดปลอยยา

                               ออกมาชา ๆ ในปริมาณที่เหมาะสมที่เห็นผลในการรักษาและระดับยาในเลือด
                                                         ิ
                               ไมสูงมาก โอกาสเสี่ยงตอการเกดพษของยาจะนอยลงและยาจะออกฤทธิ์นาน
                                                           ิ
                               กวายาเม็ดธรรมดา โดยออกฤทธิ์ไดนาน 8, 12 และ 24 ชั่วโมง ใชเฉพาะใน

                                     ื
                                 
                                                                             ี
                               ผูปวยหดระดับ moderate ขึ้นไป รวมทั้งในผูปวยที่มอาการตอนกลางคืน
                               (nocturnal asthma)
                                                                         
                                           ี่
                                     ขนาดทมีฤทธตานการอกเสบคือใชความเขมขนของยาในเลือด 5-10
                                                ิ์
                                                         ั
                                                                       ั
                               ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ใชเปนการรักษาเพื่อปองกนแบบระยะยาวได และให 
                                                
                               หยุดยาเมื่ออาการไมดีขึ้น เนื่องจากเปนยารับประทานดังนั้นควรพิจารณา
                               ความสะดวกในการรับประทานยาของผูปวยรวมดวย
                                     Aminophylline (รูปแบบฉีดเขาทางหลอดลเอดดําหรือ IV) ไม
                                                                 
                                                   ื่
                               แนะนําใหใชยาชนิดนี้เพอบรรเทาอาการหอบหืดกาเริบเฉียบพลัน เนื่องจากมี
                                                                        ํ
                                                                 ี
                               ผลขางเคียง ที่พบบอยคือ คลื่นไสอาเจยน ประกอบกับการใหยาฉีดนี้ที่
                                                       ั
                                                                                             ิ
                               โรงพยาบาล อาจซ้ําซอนกบยารับประทานที่ผูปวยไดรับอยูเดิมจนเกด
                                  
                               ผลขางเคียงของยาที่มากขึ้น นอกจากประเด็นในเรื่องความปลอดภัยแลวใน
                                                                                 ็
                               เรื่องประสิทธิภาพในการบรรเทาอาการหลอดลมหดเกร็งนั้นกยังดอยกวากลุม
                               beta-adrenergic receptor agonists (SABA)

                               ผลขางเคียงและขอควรระวัง

                               - กรณีระดับยา  theophylline  ในเลือด  มีคาต่ํากวา  20  ไมโครกรัม/
                               มิลลิลิตร  (อยูในชวง  therapeutic  index)  มีอาการคลื่นไส  อาเจียน  เบื่อ

                               อาหาร นอนไมหลับ ปวดศีรษะ หงุดหงิดงาย ซึ่งเปนผลจากการกระตุนระบบ
                               ประสาทสวนกลางและเยื่อบุกระเพาะอาหารโดยตรง






                                                   ~ 181 ~
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208