Page 204 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 204

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


                               - กรณีระดับยา  theophylline  ในเลือด  มีคาสูงกวา  20  ไมโครกรัม/

                                                                         ี
                                                       
                               มิลลิลิตร มอาการชก หวใจเตนผดจงหวะและอาจเสยชีวตได เพราะยากระตุน
                                                                                
                                                         ิ
                                                                             ิ
                                        ี
                                               ั
                                                  ั
                                                            ั
                                                                                             
                               การหลั่งของ epinephrine จากตอมหมวกไต (adrenal medulla)
                               ขอควรระวังและขอหาม  ในผูปวยตอไปนี้  Uncontrolled  arrhythmias,
                               Hyperthyroidism, Peptic Ulcers, Uncontrolled Seizure Disorders อีก
                               ทั้งควรระวังการใหรวมกับยาหรือสารกระตุนการทํางานของหัวใจอื่น  ๆ  เชน
                               sympathomimetic drugs, caffeine (มีในชา กาแฟ และเครื่องดื่มชูกําลัง)
                               เปนตน  ซึ่งคาเฟอีนเปน  xanthine  derivative  เชนเดียวกันกับ
                               theophylline จะสงผลเพิ่มระดับ theophylline ในเลือดได
                               การบริหารยา Theophylline (maximum dose) 400-600 ม.ก/วัน โดย

                                 
                                                                     ็
                                                  ่
                                      ุ
                                                                 ้
                                                                          
                                                                 ี
                                                                                           ั
                               แบงใหทก 6 หรือ 8 ชัวโมง ไมควรบดเคยวเมดยา ตองมีการตดตามระดบยา
                                                                                  ิ
                                                         
                               ในเลือดเปนระยะ     และระวังอันตรกิริยากับยาอื่นทไดรับรวมกันผานการ
                                                                             ี่
                               ทํางานของเอนไซม CYP1A2 (ในคนที่สูบบุหรี่และเด็กพบวาระดับยาจะลดลง
                               เนื่องจากมีการทํางานของ CYP1A2 เพิ่มขึ้น อาจตองปรับขนาดยาเพิ่มขึ้นจาก
                               ปกติ  และเมื่อผูปวยเลิกสูบบุหรี่ควรพิจารณาปรับยาใหมอีกครั้งเพอปองกัน
                                                                                       ื่
                               ผลขางเคียงจากขนาดยาที่สูงไป)

               4  แนวทางการรักษาโรค
                   นิยามความหมายของ asthma exacerbation หรือโรคหืดกาเริบเฉียบพลัน (GINA
                                                                         ํ
                                                            
                                ื
               guideline 2021) คอ อาการผิดปกติทเปนมากขึน ไดแก หายใจลําบาก แนนหนาอก ไอ หายใจ
                                                              
                                                 
                                               ี
                                               ่
                                                       ้
                                                                                         ิ
               มีเสียงหวีด (wheezing) และมีคา lung function ตาง ๆ ลดลง อาการเหลานี้อาจเกดแบบ
                                                                                        ั
                                          ็
                              ึ่
                                 ี
               เฉียบพลันหรือกงเฉยบพลันกได (acute or subacute worsening) อาจเกิดไดทั้งกบผูที่มี
               ประวัติการวินิจฉัยเปนโรคหืดมาแลว หรือผูที่ไมเคยมีประวัติอาการนี้มากอน
                   สิ่งกระตุนใหเกิดอาการโรคหดกําเริบเฉียบพลัน ไดแก เชือไวรัสในทางเดนหายใจ allergen
                                                                               ิ
                                                             
                                                                
                                                                  ้
                                           ื
               (รา ฝุน ละอองเกสรของพืช) อาหาร มลภาวะ สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง เทคนิคการพนยาที่ไม
                                                                                       
               ถูกตอง

                                                   ~ 182 ~
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209