Page 200 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 200

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


               ตารางที่ 7.1 กลไกการออกฤทธิ์ onset และ duration ของยากลุม beta2-adrenoceptor
               agonists (ดัดแปลงจาก Billinton et al., 2017, 2009)

                         ชนิดยา           สัดสวนความจําเพาะตอร ี  Onset of     Duration of
                                                เซ็พเตอร         action (นาที)     action

                                             (beta2 / beta1)
                 Short-acting beta-adrenoceptor agonists
                      Isoproterenol                1                  < 5         < 20 นาที

                       Salbutamol                  27                 < 5         3-6 ชั่วโมง
                       Terbutaline                 63                 < 5         4-6 ชั่วโมง
                        Fenoterol                 120                 < 5         4-6 ชั่วโมง

                Long-acting beta-adrenoceptor agonists
                       Salmeterol                 3000               15-30        > 12 ชั่วโมง

                       Formoterol                 150                 ~7          > 12 ชั่วโมง
                       Olodaterol                  65                 ~5          > 12 ชั่วโมง
                        Vilanterol                2400                ~5          > 12 ชั่วโมง
                       Indacaterol                 16                 ~5           24 ชั่วโมง



                       3.1.2  Anticholinergic agents ไดแก Ipratropium bromide, Tiotropium
                              เปนยาที่ใชในโรคหืดและโรคถุงลมอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)

                             กลไกการออกฤทธิ์ ออกฤทธิ์ปดกั้น muscarinic receptor ที่หลอดลม ยบยั้ง
                                                                                          ั
                             ฤทธิ์ของ acetylcholine (ACh) ที่หลั่งมาจากปลายประสาทเวกส (ของระบบ
                                                                                   ั
                                                                                             ิ
                             ประสาทพาราซิมพาเทติก) ซึ่ง ACh เมื่อจับกับ M3 receptor จะมีผลทําใหเกด
                             กลามเนื้อเรียบหดตัว เพิ่มการหลั่ง mucus จาก mucus gland ทําใหหลอดลม
                             อดกนได ดังนั้นยา muscarinic antagonist หรือ anticholinergic agents จึง
                                 ั้
                              ุ
                             มีผลยบยงการทํางานของระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทําใหกลามเนื้อเรียบ
                                                                                 
                                     ั้
                                  ั
                                                                               ั
                                                             ั
                             ของหลอดลมคลายตัว นอกจากนี้ยายงมีกลไกชวยในการขบเสมหะออกจาก
                             ทางเดินหายใจดวย อยางไรก็ตามยากลุมนี้มีประสิทธิภาพในการขยายหลอดลม
                             ดอยกวายาในกลุม -adrenergic receptor agonists   ดังนั้นยากลุมนี้




                                                   ~ 178 ~
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205