Page 62 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 62
การคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 30 ผู้จ าหน่ายอสระ ตัวแทนขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงมีหน้าที่ส่งมอบ
ิ
เอกสารการซื้อขายสินค้า หรือบริการแก่ผู้บริโภค
่
เอกสารการซื้อขายตามวรรคหนึ่งต้องมีข้อความภาษาไทยที่อานเข้าใจง่าย โดยระบุชื่อผู้ซื้อ และผู้ขาย
วันที่ซื้อขาย และวันที่ส่งมอบสินค้า หรือบริการ รวมทั้งสิทธิของผู้บริโภคในการเลิกสัญญา ซึ่งสิทธิเลิกสัญญา
ดังกล่าวต้องก าหนดด้วยตัวอักษรที่เห็นเด่นชัดกว่าข้อความทั่วไป
มาตรา 31 คณะกรรมการมีอานาจก าหนดรายละเอยดในเอกสารการซื้อขายสินค้า หรือบริการที่ใช้
ี
วิธีการขายตรง หรือตลาดแบบตรง โดยถือเอาราคาสินค้า หรือบริการที่ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครอง และ
ประเภทสินค้า หรือบริการเป็นส าคัญ
เอกสารการซื้อขายตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้
(1) รายละเอียดตามมาตรา 30
(2) ก าหนดเวลา สถานที และวิธีการในการช าระหนี้
(3) สถานที่ และวิธีการในการส่งมอบสินค้าหรือบริการ
(4) วิธีการเลิกสัญญา
(5) วิธีการคืนสินค้า
(6) การรับประกันสินค้า
(7) การเปลี่ยนสินค้าในกรณีมีความช ารุดบกพร่อง
มาตรา 32 การซื้อขายสินค้าหรือบริการใดที่ผู้ประกอบธุรกิจขายตรง ผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง
หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 30 หรือมาตรา 31 การซื้อขายสินค้าหรือ
บริการนั้นไม่มีผลผูกพันผู้บริโภค
มาตรา 33 ในการซื้อสินค้าหรือบริการจากการขายตรง หรือจากการขายผ่านตลาดแบบตรงผู้บริโภคมี
สิทธิเลิกสัญญาโดยการส่งหนังสือแสดงเจตนาภายในเวลา 7 วันนับแต่วันที่ได้รับสินค้า หรือบริการไปยังผู้
ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงส าหรับธุรกิจขายตรงผู้บริโภคจะแจ้งไปยังผู้จ าหน่าย
อิสระ หรือตัวแทนขายตรงที่เกี่ยวข้องก็ได้
บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับประเภท ราคา หรือชนิดของสินค้า หรือบริการตามที่ก าหนดใน
พระราชกฤษฎีกา
มาตรา 34 ผู้บริโภคที่ใช้สิทธิเลิกสัญญาตามมาตรา 33 ต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
ิ
(1) ส่งคืนสินค้าไปยังผู้จ าหน่ายอสระ ตัวแทนขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจขายตรง ในกรณีการขาย
ตรง หรือส่งคืนสินค้าไปยังผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ในกรณีตลาดแบบตรง
49