Page 222 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 222

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


                   2.4  ภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ (hyperhidrosis)
                                                                        ึ้
                       การนํา BoNT มารักษาภาวะเหงื่อออกมากผิดปกติ เกิดขนครั้งแรกในป ค.ศ. 1993
               BoNT จะมีผลยับยั้งการหลั่ง ACh ลดการกระตุน muscarinic receptor ที่บริเวณตอมเหงื่อ จึง

                                                                         ั
               ทําใหการหลั่งเหงื่อลดลง ในปจจุบัน BoNT ใชเปนยาชนิดหนึ่งในการยบยั้งการหลั่งเหงื่อสําหรับ
                                                                                    ี
               รักษาอาการเหงื่อออกมากโดยเฉพาะที่บริเวณรักแร จึงลดการสะสมของเชื้อแบคทเรียและมีผล
               ชวยลดกลิ่นกายไปดวย ผูปวยควรโกนขนใตวงแขนออกใหหมดและหยดใชผลิตภัณฑดูแลใตวง
                                                                          ุ
                                                                                   ํ
                                                        ี
               แขนทุกชนิดลวงหนา 24 ชั่วโมงกอนเขารับการฉดยา รวมทั้งหลีกเลี่ยงการออกกาลังกาย การ
                                                                                   
                                                                                           ี
               รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มรอน หรือการทํากิจกรรมที่สงผลใหมีเหงื่อออกกอนการฉดยา
                                               
                                                                      
                                                                        ี
                                                      ื
                                                                           ํ
               30 นาที  ปริมาณที่ฉีดสําหรับรักแรแตละขาง คอ 50-100 ยูนิต แบงฉดจานวน 20-30 จุด

                   2.5  อาการปวดศีรษะไมเกรนเรื้อรัง (chronic migraine)
                       ไมเกรนเปนอาการปวดศีรษะรุนแรงที่เกดจากความผิดปกติชั่วคราวในการทํางานของ
                                                        ิ
               สมองที่มีผลกระทบตอเสนประสาท สารเคม และหลอดเลือดในสมอง สงผลตอกลามเนื้อบริเวณ
                                                    ี
               ศีรษะและคอ ผูปวยจะมีอาการปวดศีรษะขางเดียวหรือสองขาง ปวดตุบ ๆ อาจมีอาการคลื่นไส

                                                                                    ึ้
               อาเจียน ตาพลามัวเห็นไมชัดรวมดวย เสียงและแสงสามารถกระตุนอาการเปนมากขนได สาเหตุ
                                                  ิ
                                                                          ั
               ของไมเกรนนั้นไมเปนที่แนชัด ซึ่งอาจเกดไดจากหลายปจจัยพรอมกน สิ่งกระตุนที่ทําใหเกิด
                               
               อาการ เชน ฮอรโมน สภาพอารมณ สภาพรางกาย อาหารที่รับประทาน สิ่งแวดลอม และการ
                                          ี
               ไดรับยาบางชนิด เปนตน  เริ่มมการนํายา BoNT มารักษาไมเกรนเรื้อรังตั้งแตป ค.ศ. 2010 โดย
                                                                                      ิ
               พบวา BoNT จะออกฤทธิ์ยับยงสารอกเสบที่หลั่งออกมาจากเสนประสาทในวงจรการเกดไมเกรน
                                             ั
                                        ั้
                                                                           ั
               ได  ปริมาณยา BoNT ที่ใชรักษาไมเกรน คือ 10-40 ยูนิต/ตําแหนง ขึ้นกบตําแหนงที่ฉีด โดยแต
               ละตําแหนงแบงฉีดเปน 1-8 จุด มี 6 ตําแหนง ดังนั้นปริมาณยารวมทั้งหมดจะเปน 155 ยูนิต/31
                                                           ื
                            ี
                    ี
                 ุ
               จด ฉดบริเวณศรษะและคอ สามารถฉดซาไดทก 3 เดอน
                                                 ้
                                                    
                                              ี
                                                 ํ
                                                     ุ

                   2.6  ภาวะกระเพาะปสสาวะบีบตัวไวเกิน (over active bladder; OAB)
                       คือภาวะที่มีความผิดปกติของ detrusor muscle ของกระเพาะปสสาวะทําใหกระเพาะ
               ปสสาวะมีการบีบตัวที่มากเกนไป ผูปวยจะรูสึกปวดถายปสสาวะแมมีปสสาวะเพยงเล็กนอย จึง
                                                           
                                              
                                       ิ
                                                                                  ี
                                                                          
                             ั
                                                                               
               ปสสาวะบอย มกพบในเพศหญิง การรักษาจะใช BoNT ในกรณีที่ผูปวยไมตอบสนองตอการ
                                                   ~ 200 ~
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227