Page 3 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 3
I
I
ค ำน ำ
ั
ั
โรคเบาหวาน จดเปนปญหาสาคญทางสาธารณสข ผู้ป่วยสวนใหญเป็นโรคเบาหวาน
ั
็
ุ
่
่
ชนิดที่ 2 ผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจมีความบกพร่องในการหลั่งอนซูลิน หรือ มีการตอบสนองต่ออนซูลิน
ิ
ิ
ี
ุ
้
่
ั
ลดลง สาเหตการเสยชีวิตสวนใหญ่มาจากภาวะแทรกซอนของโรค อนเนื่องมาจากมีระดับ
น้ าตาลในเลือดสูงเป็นระยะเวลานาน โดยเฉพาะภาวะแทรกซ้อนต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ซึ่งสาเหตุเกดจากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้ าตาลในเลือดให้ได้ตามเป้าหมายการรักษา
ิ
ยาทใช้รกษาโรคเบาหวานในปัจจุบันมีกลไกการออกฤทธิ์ที่หลากหลาย ทั้งนี้มุ่งเน้นให้ผู้ป่วย
่
ั
ี
ึ
สามารถควบคุมระดับน้ าตาลในเลือดให้ใกล้เคียงกับค่าปกติ แต่มีข้อจ ากัดเรื่องอาการไม่พง
ประสงค์ของยาเหล่านั้น การใช้สมุนไพรหรือผักพื้นบ้านที่ประชาชนรับประทานเป็นประจ าเป็น
อกทางเลือกหนึ่งที่สามารถใช้ควบคู่กับยาแผนปัจจุบันในการควบคุมระดับน้ าตาลในเลือด ซึ่ง
ี
ผักพนบ้านไทยบางชนิดมีอาการข้างเคียงน้อยมากจึงได้รับความสนใจจากนักวิจัยจ านวนมาก
ื้
ี
ั
หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมข้อมูลทางวิชาการท่ทันสมัยจากบทความปรทัศน บทความวิจย
ิ
์
หนังสือ ต าราทั้งในและต่างประเทศ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพอให้กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ บุคลากร
ื่
ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ นิสิตเภสัชศาสตร์ หรือสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้อานท าความ
่
เข้าใจ เพื่อน าไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยโรคเบาหวานได้จริง
เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ ประกอบด้วย ข้อมูลจ าเป็นเกี่ยวกับโรคเบาหวานที่ควรทราบ
ั
ี
่
ได้แก พยาธิสรรวิทยาของโรคเบาหวาน ประเภทของโรคเบาหวาน การวินิจฉยโรค รวมถง
ึ
ั
ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ที่อาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วย เภสชวิทยาของยาแผนปัจจุบัน
ที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยแบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์ซึ่งได้ระบุข้อดีข้อเสียของยาแต่ละ
ี
ชนิด อกทั้งกล่าวถึงแนวทางการรกษาโรคเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ กลไกหลกที่ใช้ต้าน
ั
ั
เบาหวานของสมุนไพร เช่น กระตุ้นการหลั่งอนซูลิน เพมความไวในการตอบสนองต่ออนซูลิน
ิ่
ิ
ิ
ลดการดูดซึมกลับของน้ าตาลเข้าสู่ล าไส้เล็ก ได้อธิบายถึงสารพฤกษเคมีที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน
และได้ยกตัวอย่างผักพนบ้านบางชนิดที่คนไทยคุ้นเคยและมีหลักฐานเชิงประจักษ์ทั้งในหลอด
ื้
์
ี
ั
ทดลอง และสตว์ทดลองท่แสดงฤทธิตานเบาหวาน รวมถึงงานวิจัยของผู้นิพนธ์ที่ได้ศึกษาฤทธิ์
้
ี
ิ
ั
ต้านเบาหวานและฤทธิ์ต้านออกซเดชันของผักพนบ้าน นอกจากนยงมรายงานการวิจยทาง
ั
ี
ื้
้
ุ
ื
ั
ื้
ั
ิ
ื
้
คลินิกของผักพนบ้านไทย และสรปทศทางการวิจยในการพัฒนาผกพ้นบานไทยเพ่อใช้ในการ
ต้านเบาหวานในอนาคตต่อไป
ผู้นิพนธ์หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาการใช้ผัก
ี
พนบ้านไทยในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานซึ่งเป็นอกทางเลือกหนึ่ง และสามารถนาไป
ื้