Page 193 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 193

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


               ตัวของหลอดลมที่ปอดทั้ง 2 ขาง อากาศเขาปอดไดลดลง ทําใหผูปวยมีอาการหายใจลําบาก
                                                     ุ
                                                                                 
                                                        ั้
               เหนื่อยหอบ  หายใจมีเสียง wheeze การอดกนของทางเดินหายใจนี้จะเปนแบบชั่วคราว
                                                                                      ั
                                                                     ื่
               (reversible obstruction) จําเปนตองไดรับยาขยายหลอดลมเพอบรรเทาอาอาการทนที พบวา
               เมื่อตรวจสมรรถภาพปอดคาปริมาตรของลมหายใจที่วัดจากการหายใจออกเต็มที่และรวดเร็วใน
                                                                                         ั
               เวลา 1 วินาทีหรือที่เรียกวา Force expiratory volume in one second (FEV1) ซึ่งวดดวย
               spirometer คาจะลดลงเมื่อเกด acute asthma attack และคานี้จะเพิ่มขึ้นหลังจากผูปวย
                                          ิ
                                                                                       ํ
               ไดรับยาขยายหลอดลม นอกจากนี้ผูปวยโรคหืดตองไดรับยากลุมควบคุมอาการไมใหกาเริบ คือ
                                                                                      ี
               กลุมยาตานการอกเสบ โดยเฉพาะ corticosteroids ที่จะชวยลดบทบาทของสารเคมที่หลั่งจาก
                              ั
               เซลลอักเสบบริเวณเนื้อเยื่อทางเดินหายใจ (เชน LTs, ILs, เปนตน)


               โรคหืดแบงไดเปน 2 ประเภท

                   -  Extrinsic asthma การเกดอาการเกิดจากสิ่งกระตุนภายนอก (เชน ไรฝุน ละอองเกสร
                                           ิ
                                                                    ี่
                                                                                             ู
               ดอกไม ขนสัตว ซึ่งเรียกวาเปน allergen) ขบวนการกระตุนเกยวของกบ mast cells เมื่อถก
                                                                        
                                                                           ั
               antigen กระตุนทําให mast cell แตกออกและหลั่งสารที่สําคัญ 2 ตัว คือ histamine และ
                                            ี
                                                      ิ
               leukotrienes ซึ่งสารทั้ง 2 ตัวนี้มผลทําใหเกดการหดตัวของหลอดลมเกิดการอักเสบและ
               histamine ทําใหเยื่อบุทางเดินหายใจบวม ทําใหผูปวยมีเสมหะมากขึ้น
                   -  Intrinsic asthma (idiosyncratic) เปนสาเหตุภายในรางกายซึ่งยังไมทราบแนชัด

                                                                         ็
                                                                  
                     หรืออาจจะแบงชนิดของโรคหืดโดยใชสิ่งกระตุนเปนหลักกจะไดหลายประเภท คือ
               Atopic,  Non- reaginic  (infection),  Pharmacologic,  Occupational,  Allergic,
               Bronchopulmonary aspergillosis


               ระบบประสาทที่เกี่ยวของ

                   -  Sympathetic nervous system เมื่อกระตุนระบบประสาทนี้ผาน   receptor ที่
                                                                                  2
                                                                            ั้
                หลอดลม ทําใหระดับ c-AMP เพมขึ้น มีผลทําใหหลอดลมขยาย ยับยงการแตกของ mast
                                             ิ่
                                             ี่
                cells ที่หลอดลม มีผลทําใหสารททําใหหลอดลมอักเสบ เชน histamine และ leukotrienes
                                        ู
                ที่อยูภายใน mast cell ไมถกปลอยออกมา และกระตุน cilia ในทางเดินหายใจใหโบกพด
                                                                                             ั
                เสมหะใหขับออกมาไดงายขึ้น


                                                   ~ 171 ~
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198