Page 180 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 180

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                       มีฤทธตอกลามเนื้อเรียบของหลอดเลือดดวยโดยเฉพาะกลุมที่มีผลตอรีเซ็พเตอร
                            ิ์
                       alpha1 แบบไมเจาะจงชนิดยอย ดังนั้นจึงทําใหหลอดเลือดคลายตัวและมีฤทธิ์ลดความ
                                               
                             ิ
                       ดันโลหตได อาจเหมาะสําหรับผูปวย BPH ที่มีโรครวมคือโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลด
                                                   
                       จํานวนยาที่ผูปวยตองรับประทาน
                       ยา tamsulosin และ silodosin เปนยาที่มีผลตอรีเซ็พเตอรชนิด alpha 1 แบบเจาะจง

                                                                                      ี่
                       ชนิดยอย คือ จะยับยั้งที่ adrenoceptor แบบ selective-alpha1A  (พบท bladder
                       neck และ urethra) และ alpha1B (พบที่หลอดเลือด) ในสัดสวน 10:1 และ 161:1
                                                     ี
                                                                             ิ
                                         ั้
                       ตามลําดับ ดังนั้นยาทงสองชนิดจึงมผลนอยตอระดับความดันโลหต แตยาทั้งสองชนิด
                                        ิ
                       พบวามีผลทําใหเกด anejaculation (ejaculation dysfunction, EJD) ไดเพมขึ้น
                                                                                          ิ่
                       โดยเฉพาะ silodosin
                       ผลขางเคียง

                       ทําใหความดันโลหิตลดลง (orthostatic hypotension) จนเปนสาเหตุของอาการ
                       วิงเวียน หนามืดเปนลม (prazosin, doxazosin, terazosin พบบอย tamsulosin พบ

                       นอย) หัวใจเตนเร็ว (reflex tachycardia) , peripheral edema, ejaculatory

                       dysfunction (EJD), nasal congestion เปนตน
                                   ิ
                       ยาอาจทาใหเกดภาวะมานตาออนแรง (Intraoperative floppy iris syndrome; IFIS)
                              ํ
                                                                                         
                       เนื่องจากการที่ alpha1 adrenergic receptor อยูบริเวณกลามเนื้อเรียบของมานตา
                       ชนิดแนวรัศมี (dilator muscle of iris) เมื่อไดรับ alpha1 blocker จึงทําใหกลามเนื้อ
                       ชนิดนี้คลายตัวเปนเหตุใหรูมานตา (pupil) หดเล็กลง และสามารถกระเพอมตามแรง
                                                                                    ื่
                                                                                 ุ
                       เคลื่อนของน้ําในลูกตาและทําใหมานตามารบกวนการทํางานของอปกรณผาตัดได
                       ดังนั้นหากกําลังไดรับยา alpha blockers มักจะเปนอุปสรรคในการผาตัดดวงตา ทําให

                                                         ิ
                                  
                       รูมานตาไมเปดกวาง และเพมโอกาสเกดภาวะแทรกซอนของมานตาและดวงตาได
                                               ิ่
                                                                         ิ
                       โดยเฉพาะการผาตัดตอกระจก (cataract) ยาที่พบวาทําใหเกดผลขางเคียงนี้ไดบอยคือ
                       tamsulosin อาจจําเปนตองหยุดยาอยางนอย 1-2 สัปดาหกอนผาตัด และผูปวยควร
                       แจงแพทยใหทราบวารับประทานยารักษาตอมลูกหมากอยูกอนรับการผาตัดดวงตา
                       ผูปวยตอมลูกหมากโตควรระวังการรับประทานยาลดอาการคัดจมูก (nasal

                       decongestants) เนื่องจากมีกลไกการออกฤทธิ์ คือ alpha1-adrenoceptor agonist



                                                   ~ 158 ~
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185