Page 105 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 105

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล















                              (a)                          (b)                           (c)


                            ภาพที่ 3.2   ความสัมพันธระหวางขนาดและ response ตอการทํางานของ

                             (a) หลอดเลือด (b) หลอดลม และ (c) หัวใจ เปรียบเทียบสาร 3 ชนิด คือ
                             epinephrine (Epi), norepinephrine (NE) และ isoproterenol (ISO)

                                              (ดัดแปลงจาก Mycek et al., 1997)

                       ผลตอตอมมีทอ (exocrine glands)

                              - ตอมเหงื่อที่ทั่วตัว (eccrine sweat gland) และที่บางแหง (apocrine

                       sweat gland) ทั้ง eccrine หรือ apocrine
                              การกระตุนระบบประสาทซิมพาเทติก สวนใหญทําใหเหงื่อออก

                              - ตอมน้ําลาย (salivary gland)
                              ตอมน้ําลายประกอบดวย 2 ชนิด คือ serious gland และ mucous gland

                       โดย  serious gland จะใหน้ําลายชนิดใสซึ่งถูกควบคุมโดยระบบประสาทพาราซิมพาเท

                       ติก สวน mucous gland จะใหน้ําลายชนิดขน เชนจากตอมบริเวณใตลิ้นและใตกระดูก
                       maxillary พวกนี้จะมีแตเสนประสาทซิมพาเทติกมาเลี้ยงเทานั้น ดังนั้นเมื่อกระตุน

                                                                                             
                                                     
                       ระบบประสาทซิมพาเทติก หรือใหสาร sympathetic amine จะทําใหมีน้ําลายขน
                       ออกมาทําใหรูสึกปากแหง ซึ่งตางกับ atropine ที่เปน parasympatholytic drugs จะ
                       ทําใหปากแหงโดยลด secretion ของตอมน้ําลายทั้งสองชนิด




                                                    ~ 84 ~
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110