Page 104 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 104
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
Epi ใชพนในกรณีมีอาการหอบหืดกําเริบเฉียบพลันหรือฉุกเฉิน เนื่องจากมีฤทธิ์
ั
ั
ั้
ขยายหลอดลม ยบยงการหลั่ง histamine และนอกจากนี้ยงมีประโยชนในแงทําให
bronchial vessel หดตัว ทําใหลด mucous edema แตทั้งนี้ Epi อาจมีผลตอรีเซ็พเต
ึ
อรชนิดอื่นไดดวย เชน 1-adrenoceptor ซึ่งอาจเปนอาการไมพงประสงคขณะกําลัง
ไดรับยา
- ผลตอตา
ื่
การปรับมานตา (iris) เพอใหรูมานตา (pupils) หดเล็กลงหรือขยายนั้น ตอง
อาศัยกลามเนื้อเรียบ 2 สวนของมานตา คือกลามเนื้อ radial muscle (dilator
muscle หรื อ longitudinal muscle) มีระบบป ระสาท ซิ มพาเทติ ก (-
adrenoceptor) ควบคุม เมื่อถกกระตุนจะทําใหกลามเนื้อนี้หดตัว รูมานตาจะขยาย
ู
(mydriasis) และ circular muscle (constrictor muscle หรือ sphincter muscle)
ื่
ถูกควบคุมโดยระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (M3 receptor) เมอถูกกระตุนจะทําให
กลามเนื้อนี้หดตัว รูมานตาจะหรี่เล็กลง (miosis)
นอกจากนั้นที่ ciliary muscle ในตาซึ่งมีรีเซ็พเตอรชนิด 2 เมื่อกระตุนระบบ
ประสาทซิมพาเทติกที่รีเซ็พเตอรชนิดนี้ กลามเนื้อเรียบนี้จะคลายตัว suspensory
ligament จะเคลื่อนไปทางดานหลัง ทาใหเลนสมีความโคงนอยลง จึงปรับใหสายตา
ํ
มองเห็นในระยะไกลได และในทางตรงขามเมื่อกระตุนดวยระบบประสาทพาราซิมพาเท
ติก (M3 receptor) จะทําใหกลามเนื้อนี้หดตัว ทําใหปรับสายตามองเห็นในระยะใกลได
ดีขึ้น ดังนั้น catecholamines จงมีผลทงทําใหรูมานตาขยาย และการมองเห็นภาพ
ั้
ึ
เปลี่ยนแปลงไป
~ 83 ~