Page 73 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 73

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                                  ยาที่มีผลตอระบบประสาทพาราซิมพาเทติก





               1.  บทนํา

                   ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกของ ANS มีหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายในหลาย

                                                                                            ึ้
               อวัยวะดังภาพที่ 2.1 และสารสื่อประสาทที่สําคัญในระบบประสาทนี้ คือ ACh ซึ่งสังเคราะหขนใน
               เซลลประสาทและเก็บใน vesicles เมื่อมีการกระตุน presynaptic neuron ถุงเก็บสารสื่อ

                                                               ิ
               ประสาทจะเคลื่อนที่ไปบริเวณ nerve terminal และเกด exocytosis นําสารสื่อประสาทออก
               จากเซลลประสาทสูบริเวณ synaptic cleft ซึ่ง ACh สวนหนึ่งจะเขาไปจับ postsynaptic

               receptor คือ muscarinic receptor (มีหลายชนิด ซึ่งพบในอวยวะที่แตกตางกนไป) และ M1,
                                                                     ั
                                                                                   ั
               M3, M5 receptor มีกลไกการกระตุน second messenger คือ IP -DAG ในขณะที่ M2, M4
                                                                         3
                                                                                ํ
                                ั
               receptor มีกลไกยบยง adenylyl cyclase และลด cAMP นํามาซึ่งการทางานของอวัยวะ
                                   ั้
               เปาหมายตาง ๆ  สารสื่อประสาทบางสวนจะถูกทําลายใหหมดฤทธิ์ โดยกระบวนการที่สําคัญใน
               การทําลายสารสื่อประสาท ACh ในระบบประสาทพาราซิมพาเทติก คือ การถูกทําลายโดย

               เอนไซม acetylcholinesterase หรือ cholinesterase (AChE) จากความรูพื้นฐานดังกลาวทําให
                      
               เราสามารถนํามาประยุกตใช และสามารถทํานายไดวาสารที่ออกฤทธิ์ตอกระบวนการเหลานี้จะทํา
               ใหเกิดผลอยางไร

                 การกระตุนระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะใหผลตาง ๆ  ดังแสดงในบทที่แลว ปจจุบัน

               สารกลุม cholinomimetic นั้นมีการนํามาใชประโยชนในทางคลินิกในการรักษาโรคตา
               โดยเฉพาะตอหิน (glaucoma) และอาจใชสารกลุมนี้กระตุนการทํางานของกลามเนื้อเรียบของ

               ทางเดินอาหารและทางเดินปสสาวะ เชน ภาวะกลามเนื้อเรียบไมทํางานหลังผาตัด เปนตน
                                                                        
                                                                                          
                         ั
               นอกจากนี้ยงใชรักษาโรค myasthenia gravis สารในกลุม cholinomimetic มีหลายชนิด ดัง
               รายละเอียดในหัวขอตอไป








                                                    ~ 52 ~
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78