Page 32 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 32

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


               (N) receptor ซึ่งมี 2 ชนิด คือชนิดที่พบที่ปมประสาท (ganglia) เรียก Nn receptor และชนิดที่
               พบที่บริเวณจุดประสานระหวางเซลลประสาทและกลามเนื้อลาย  (neuromuscular  junction;

               NMJ) เรียก Nm receptor


                   2.2 Norepinephrine (NE)

                       เปนสารสื่อประสาทกลุม biogenic amine หรือ monoamine ซึ่งสารสื่อในกลุมนี้จะ
               ประกอบดวย 2 กลุมยอย คือ กลุม catecholamines และกลุม indolamines สารสื่อประสาท

               ในกลุม catecholamines ประกอบดวย dopamine (DA), norepinephrine (NE) และ

               epinephrine (Epi) ซึ่งจะถูกสังเคราะหขึ้นจากกรดอะมิโน tyrosine (tyr) ดังภาพที่ 1.4 B และ
                                             ู
                                                                                             ิ
               1.5 โดยสารสื่อประสาท NE จะถกสรางและหลั่งออกมาจากเซลลประสาทอะดรีเนอรจก
               (adrenergic neurons)  สวน Epi จะถูกหลั่งออกมาจากตอมหมวกไตชั้นใน (adrenal

                                   ั
               medulla) ในภาวะคับขน ตื่นเตน  สารสื่อประสาท NE สรางจากกรดอะมิโน phenyl-alanine
               โดยเอนไซม phenylalanine hydroxylase ไดเปน tyrosine จากนั้นจะเปลี่ยนแปลงตอไป

               หลายขนตอนภายใน cell body ของ noradrenergic neurons โดย สารสื่อประสาท NE เกด
                                                                                             ิ
                     ั้
               จากการเปลี่ยนแปลง DA ภายในในถุงเก็บ (synaptic vesicles) เมื่อมีกระแสประสาทมากระตุน
               เซลลประสาทจะหลั่ง NE จาก vesicle เขาสูบริเวณ synaptic cleft และสารสื่อประสาท NE ที่

                                                                                 ั
               หลั่งออกมาแลวจะจับกบ postsynaptic receptors ในขณะทบางสวนจะจับกบ presynaptic
                                                                   ี่
                                   ั
                          ื
               receptors คอ -adrenoceptor (autoreceptor) จึงใหผลในการกระตุนเปน 2 อยาง คือ
                              2
               กระตุนและยับยั้ง ตามลําดับ ซึ่งสารสื่อประสาท NE ใน synaptic cleft สวนใหญ คือ   60-
                                                                                             +
               80% ของปริมาณทั้งหมดที่หลั่งออกมาจะถูกเก็บกลับ (uptake 1 หรือ reuptake) โดยใช Na -
               dependent  ATPase  transport protein  ห รื ออ าจ เ รี ยก ว า   NE  transporter (NET)
               กระบวนการ uptake กลับเขาเซลลประสาทนี้เปนวิธีการที่สําคัญในการทาลายสารสื่อประสาท
                                                                            ํ
               NE จาก synaptic cleft หลังจากนั้นสารสื่อประสาทจะถูกนําเขาไปเกบสะสมใน vesicle แล
                                                                           ็
               สวนที่เหลือจะถูกทําลายโดย monoamine oxidase (MAO) จากในไมโตรคอนเดรียภายใน

               เซลลประสาทนั้น

                       สารสื่อประสาท NE ที่คงอยูใน synaptic cleft อาจถูกทําลายโดยเอนไซม catechol-
               O-methyl  transferase  (COMT)  ที่ อยู ใน   postsynaptic  cell (uptake  2)  ได เป น


                                                    ~ 11 ~
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37