Page 235 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 235

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

                                                                  
                                        ิ
                                          ี
                                                               
                                                                             ั
               ประเภทของตอหิน  โรคตอหนมหลายประเภทสามารถแบงไดหลายแบบ ดงนี      ้
                                     
                                                                  
               1.   พิจารณาตามลักษณะของมุมตา ซึ่งเปนวิธีที่นิยม แบงไดเปน 2 ประเภท คือ ตอหินมุมเปด
               (open-angle glaucoma) และตอหินมุมปด (angle-closure glaucoma) ซึ่งเปนภาวะที่ความ
               ดันดวงตาเพิ่มขึ้นแบบมุมตาเปดหรือมุมตาปดแคบ ตามลําดับ
                                                                ิ
                                        
                                           
                                                      ื
                                                                           
               2.   พิจารณาตามสาเหตุ แบงได 2 ประเภท คอ ตอหินชนดปฐมภม (ไมทราบสาเหตุของโรค ที่
                                                                        ิ
                                                                      ู
               พบบอยคือ primary open-angle glaucoma) ตอหินชนิดทุติยภูมิ (ทราบสาเหตุของโรค เชน
               เกิดจากโครงสรางตาผิดปกติ เกิดจากโรคอน ตอหินเปนแตกําเนิด เปนตน)
                                                  ื่
               3.   พิจารณาตามลักษณะอาการ แบงได 2 ประเภท คือ ตอหินชนิดเรื้อรัง (ไมคอยมีอาการ)
                              ี
                                                                    ี
               และตอหินชนิดเฉยบพลัน (IOP > 40 mmHg โดยสูงขึ้นแบบเฉยบพลัน ผูปวยมักมีอาการปวด
               ตามาก ตาแดง ตามัว กระจกตาบวม เห็นแสงรุงรอบดวงไฟ อาการเกิดขึ้นภายในหนึ่งชั่วโมง
               และอาจมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไสอาเจียนรวมดวย) ทพบบอยคือ ตอหินมุมปดเฉียบพลันเกิด
                                                              ี่
               จากสวนตนของกลามเนื้อเรียบของมานตาโดนดันไปขางหนาทําใหไปบดบังการไหลของน้ําที่มุม
                                                            
                                                                      
                                                                                          ี
                                                               ี
                                                 ิ
                                ิ
               ตา ซึ่งพบในเพศหญงมากกวาชาย เมื่อเกดตอหินมุมปดเฉยบพลันขางหนึ่งแลวไมนานตาอกขาง
               มักจะเกิดอาการตามมาดวย

                            ั
                                              ํ
                    การวินิจฉยโรคตอหินสามารถทาดวยการซักประวัติ ตรวจรางกาย และตรวจดวยเครื่องมือ
               ตาง ๆ เชน ตรวจระดับสายตา จอประสาทตา ความหนาของกระจกตา ตรวจความดันภายใน
               ดวงตา (ดวย tonometer) วัดมุมตา (ดวย gonioscopy เมื่อสงสัยเปนตอหินมุมปด) ตรวจลาน

                                                         ั้
               สายตา (ดวย automated perimetry) ตรวจขวประสาทตา (ดวย optical coherence
               tomography หรือ ophthalmoscopy หรือ fundoscopy) เปนตน



                    การรักษาโรคตอหินจะใช 3 วิธีการ คือ รักษาดวยยา เลเซอร และการผาตัด ซึ่งการผาตัด
                                     ึ
               จะทําเมื่อใชยาแลวยงไมถงเปาหมายการรักษา ผูปวยไมทนตอผลขางเคียงยา หรือใชเลเซอร
                                 ั
                                                          
                                                                                          ็
                        o
               (เชน 360  selective laser trabeculoplasty หรือ SLT เปนตน) แลวไมไดผล อยางไรกตาม
                                                                      ็
               การผาตัดเพื่อทําชองทางระบายน้ําใหม เชน trabeculectomy กอาจพบความลมเหลวในการ
               ผาตัดได อกทั้งอาจมีภาวะแทรกซอนหลังผาตัดเกดขึ้น เชน ติดเชื้อ ความดันในดวงตาต่ํากวา
                                                         ิ
                        ี
                                                                                          
               ปกติ ชองหนามานตาตื้น จอตาชั้นคอรอยดหลุดลอกหรือมีเลือดออก กระจกตาบวม เปนตน

                                                   ~ 213 ~
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240