Page 169 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 169

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

               2.  พยาธิสรีรวิทยาของโรค

                   สาเหตุของโรคยังไมทราบแนนอน เชื่อวามาจาก sensory-motor signaling ของระบบ

                                                                             
                                      ึ
               ประสาทมีความผิดปกติ จงมีคําสั่งไปยังกลามเนื้อเรียบของระบบขับถายปสสาวะผิดปกติ
                                                           ุ
               นอกจากนี้ยงอาจเกดจากการเสื่อมสภาพตามอาย กลามเนื้อบริเวณอุงเชิงกรานหยอนยาน
                          ั
                                 ิ
                                                               ั้
               กลามเนื้อเรียบของกระเพาะปสสาวะผิดปกติ มีการอุดกนทบริเวณคอของกระเพาะปสสาวะ
                                                                  ี่
               (bladder neck) หรือเปนอาการทเกดขึ้นภายหลังการผาตัดรักษาอาการปสสาวะเล็ด เปนตน
                                              ิ
                                            ี่
               อีกทั้งยังไมทราบกลไกความแตกตางระหวาง OAB-wet และ OAB-dry

               3.  กลุมยาที่ใชรักษาโรค

                   ยาจัดเปนแนวทางการรักษาลําดับรองลงมาจากการปรับปจจัยกระตุนอาการและฝกการ

               กลั้นปสสาวะ กลุมยาหลักในการรักษา OAB มี 2 กลุม คือ anticholinergic drugs และ beta3-
               adrenoceptor agonists โดยยาจะมีผลใหกลามเนื้อเรียบของกระเพาะปสสาวะคลายตัว ลด

               การบีบตัวของกลามเนื้อนั้นจะชวยเพิ่มความจุของกระเพาะปสสาวะ จึงชวยชะลอการขบถาย
                                                                                         ั
               ปสสาวะออกไปได

                   -  Anticholinergic drugs (antimuscarinic drugs, muscarinic antagonists)

                       เชน tolterodine 4 มก. (extended release capsule, ER-cap วันละครั้ง),
               oxybutynin 5-10 มก. (immediate release tablet, IR-tab วันละ 2-3 ครั้ง, ER-tab วันละ

               ครั้ง), solifenacin (5-10 มก.), fesoterodine (8 มก.) and trospium (60 มก.) นอกจากนี้ยง
                                                                                             ั
               มีทางเลือกยาในรูปแผนแปะผิวหนัง เชน transdermal system (TDS) oxybutynin (patch
               or gel 10%) เปนตน

                       กลไกการออกฤทธิ์  ยาออกฤทธิ์ยับยั้ง muscarinic receptor ทําใหยับยั้งการทํางาน

               ของระบบประสาทพาราซิมพาเทติกที่มายังกระเพาะปสสาวะ มีผลใหกระเพาะปสสาวะบีบตัว
               ลดลง

                       ผลขางเคียง    ปากคอแหง ตาแหง คันตา ทองผูก เห็นภาพไมชัด เหงื่อไมออก ความ
                           
                                ิ
                                                                                 ุ
               ดันลูกตาสูงในตอหนชนิดมุมปด ทองอืดเฟออาหารไมยอย ปสสาวะไมออก อณหภูมรางกาย
                                                                                       ิ
               สูงขึ้น การใชยาระยะยาวอาจมีผลตอความจําโดยเฉพาะในผูสูงอายุ  พบไดไมบอยคือหัวใจเตน
               เร็วผิดจังหวะ ยากลุมนี้อาจเพมอาการขางเคียงกบผูปวย Sjogren’s syndrome (โรคที่ผูปวยมี
                                                
                                        ิ่
                                                        ั

                                                   ~ 147 ~
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174